1.11k likes | 2.44k Views
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน (Elasticity of Demand and Supply. ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of Demand). ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ คือ ปริมาณการตอบสนองของความต้องการซื้อของผู้ ซื้อเมื่อปัจจัยที่เกี่ยวข้องเปลี่ยนไป
E N D
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน(Elasticity of Demand and Supply
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of Demand) ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ คือ ปริมาณการตอบสนองของความต้องการซื้อของผู้ ซื้อเมื่อปัจจัยที่เกี่ยวข้องเปลี่ยนไป ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ =% การเปลี่ยนแปลงปริมาณความต้องการซื้อสินค้า % การเปลี่ยนแปลงของปัจจัยที่เกี่ยวข้อง
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of Demand) ตั๋วรถเมล์ราคา 2 รูปี คนใช้เยอะมาก ตั๋วรถเมล์ราคา 10 รูปี คนใช้น้อยเพราะแพงไป ตั๋วรถเมล์ขึ้นราคา ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ คือ ปริมาณการตอบสนองของความต้องการสินค้าและบริการของผู้บริโภคเมื่อปัจจัยที่เกี่ยวข้อง (ราคาตั๋วรถเมล์) เปลี่ยนไป
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of Demand) ค่าใช้ทางด่วน 20 บาท ค่าใช้ทางด่วน 60 บาท เก็บค่าผ่านทาง แพงขึ้น ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ คือ ปริมาณการตอบสนองของความต้องการสินค้าและบริการของผู้บริโภคเมื่อปัจจัยที่เกี่ยวข้อง (ค่าผ่านทาง) เปลี่ยนไป
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of Demand) มี 3 ชนิด คือ ขึ้นอยู่กับชนิดของปัจจัยที่เปลี่ยนแปลง ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา (Price Elasticity of Demand) ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้ (Income Elasticity of Demand) ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคาสินค้าอื่นที่เกี่ยวข้อง (Cross Elasticity of Demand)
การวัดความยืดหยุ่นมี 2 วิธี 1. Point Elasticity (แบบจุด) ใช้ในกรณีที่ปัจจัยที่เปลี่ยนแปลง (∆X) มีการเปลี่ยนแปลงน้อยมากจนยากแก่การวัด Elasticity = % ∆Q =dQ/Q = dQ . X 2. Arc Elasticity(แบบช่วง) ใช้ในกรณีที่ปัจจัยที่เปลี่ยนแปลง (∆X) มีการเปลี่ยนแปลงมาก Elasticity = % ∆Q =dQ/[(Q1+Q2)/2] = dQ . (X1+X2) % ∆X dX/X dX Q dX/[(X1+X2)/2] (Q1+Q2) % ∆X dX
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา (Ed)(Price Elasticity of Demand)
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา (Ed)(Price Elasticity of Demand) Ed คือ เปอร์เซนต์การเปลี่ยนแปลงปริมาณความต้องการซื้อเมื่อราคาสินค้าเปลี่ยนแปลงไป 1 เปอร์เซ็นต์ Ed =% การเปลี่ยนแปลงปริมาณความต้องการซื้อ % การเปลี่ยนแปลงของราคาสินค้า 1. Point Elasticity (แบบจุด) Ed = (Q2-Q1) . P 2. Arc Elasticity(แบบช่วง) Ed = (Q2-Q1) . (P1+P2) (P2-P1) Q (P2-P1) (Q1+Q2)
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา (Ed) ซื้อยีนส์ 1 ตัว ถ้าราคาตัวละ 2,500 บาท ซื้อยีนส์ 4 ตัว ถ้าราคาตัวละ 600 บาท ซื้อยีนส์หลายตัวถ้าราคาถูกลง ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ยีนส์ต่อราคาคือ?
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา (Ed) ซื้อหลุยส์ 1 ใบ ถ้าราคาใบละ 85,000 บาท ซื้อหลุยส์ 4 ใบ ถ้าราคาใบละ 15,000 บาท ซื้อหลุยส์หลายใบ ถ้าราคาถูกลง ความยืดหยุ่นของอุปสงค์หลุยส์ต่อราคาคือ?
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา (ต่อ) ราคา(P) Slope (-) Ed ที่ราคาเท่ากับ 10 คือ (-) 1 Ed ที่ราคาเท่ากับ 8 คือ (-) 0.67 Ed เฉลี่ยของช่วงราคาระหว่าง 8 ถึง 10 คือ (-) 0.81 A P1 10 B P2 8 D Q1 Q2 ปริมาณ (Q) 0 200 240
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา (ต่อ) เราสามารถจัดกลุ่มอุปสงค์ต่อราคาได้เป็น 5 กลุ่มคือ • อุปสงค์มีค่าความยืดหยุ่นมาก (|Ed| > 1) Elastic • อุปสงค์มีค่าความยืดหยุ่นน้อย (|Ed| < 1) Inelastic • อุปสงค์มีค่าความยืดหยุ่นเท่ากับ หนึ่ง (|Ed|= 1) • อุปสงค์มีค่าความยืดหยุ่นอินฟินิตี้ (|Ed|=∞) • อุปสงค์ไม่มีความยืดหยุ่น (|Ed|= 0)
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา (ต่อ) รถใช้ทางด่วน 250,000 คัน/วัน รถใช้ทางด่วน 10,000 คัน/วัน ตัวเลขความยืดหยุ่นบอกอะไรเรา? Ed = - 4.2 ค่าบัตรทางด่วนแพงขึ้นจาก 40 บาท เป็น 60 บาท รถใช้ทางด่วน 250,000 คัน/วัน รถใช้ทางด่วน 200,000 คัน/วัน Ed = -0.56 ค่าบัตรทางด่วนแพงขึ้นจาก 40 บาท เป็น 60 บาท
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา (ต่อ) การตีความหมายของอุปสงค์ต่อราคา • สินค้าที่มีความยืดหยุ่นมาก (|Ed| > 1) ส่วนมากจะเป็นสินค้าฟุ่มเฟือย • สินค้าที่มีความยืดหยุ่นน้อย (|Ed| < 1) ส่วนมากจะเป็นสินค้าจำเป็น
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา (ต่อ) ถ้าอาหารราคาแพงขึ้น 50% เราจะยังคงทานอาหาร 3 มื้อ/วันไหม?. Ed>1 หรือ Ed<1 ถ้ากระเป๋าหลุยส์ราคาแพงขึ้น 50% เราจะยังคงซื้อมันทั้ง 4 ใบไหม? Ed>1 หรือ Ed<1
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา (ต่อ) ปัจจัยที่กำหนดความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา • ความสามารถในการทดแทนกันได้ของสินค้า • ชนิดของสินค้า • มูลค่าสินค้าคิดเป็นสัดส่วนของรายได้ • ระยะเวลาการปรับตัวนับตั้งแต่ราคาเปลี่ยนแปลง
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา (ต่อ) ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคาและรายรับรวม รายรับรวม (Total Revenue) = (ราคา).(ปริมาณสินค้า) = P.Q ผู้ผลิตต้องปรับราคาสินค้าอย่างไรเพื่อให้รายรับรวมเพิ่มขึ้น ? (อย่าลืม ราคาสินค้ากับปริมาณขายจะแปรผกผันกัน P Q หรือ P Q )
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา (ต่อ) ลูกค้า 5,000 คน/วัน ลูกค้า 50 คน/วัน Ed = -10.78 อาหารขึ้นราคาจาก จานละ 100 บาท เป็น 120 บาท ลูกค้า 5,000 คน/วัน ลูกค้า 4,500 คน/วัน Ed = -0.58 อาหารขึ้นราคาจาก จานละ 100 บาท เป็น 120 บาท
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา (ต่อ) ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคาและรายรับรวม 1. ถ้า Ed > 1 รายรับรวมเพิ่มขึ้นเมื่อลดราคาลง หรือ TR P 2. ถ้า Ed < 1 รายรับรวมเพิ่มขึ้นเมื่อเพิ่มราคาขึ้น หรือ TR P
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา (กรณีศึกษา) การตั้งราคาข้าวราดเนื้อของร้านแฟรนส์ไชน์อาหารญี่ปุ่น “โยชิโนยะ”
การตั้งราคาข้าวราดเนื้อของร้านแฟรนส์ไชน์อาหารญี่ปุ่น “โยชิโนยะ” ข้าวราดเนื้อจานละ 250 เยน ข้าวราดเนื้อจานละ 400 เยน
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา (กรณีศึกษา) ร้านแฟรนส์ไชน์อาหารญี่ปุ่น “โยชิโนยะ” • การตั้งราคาข้าวราดเนื้อ • 400 บาท/จาน ลูกค้าน้อยมาก • 250 บาท/จาน ลูกค้าต่อคิวจนให้บริการไม่ทัน • 270 และ 280 บาท/จาน มีลูกค้ามากพอๆกัน • 300 บาท/จาน ลูกค้าน้อยกว่าการตั้งราคาที่ 280 บาท/จาน มาก
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา (ต่อ) ข้อควรระวัง!!! • ความยืดหยุ่น (Elasticity) กับความลาดชัน (Slope) เป็นคนละสิ่งกัน • เส้นอุปสงค์ที่มีความลาดชันมากอาจมีความยืดหยุ่นมากกว่าเส้นอุปสงค์ที่มีความลาดชันน้อยกว่าได้
ราคา(P) 20 Slope (-) Ed > 1 Ed = 1 10 Ed < 1 D 4 ปริมาณ (Q) 0 2 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา (ต่อ) • ความยืดหยุ่น (Elasticity) กับความลาดชัน (Slope) เป็นคนละสิ่งกัน
ราคา(P) Slope =- 3, Ed = -0.67 20 DA Slope =- 2, Ed = -0.25 5 DB ปริมาณ (Q) 0 10 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา (ต่อ) 2. เส้นอุปสงค์ที่มีความลาดชันมากอาจมีความยืดหยุ่นมากกว่าเส้นอุปสงค์ที่มีความลาดชันน้อยกว่าได้
ราคา(P) Slope =- 4, Ed = -0.25 Slope =- 2, Ed = -0.5 10 DA DB ปริมาณ (Q) 0 10 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา (ต่อ) ความชันของเส้นอุปสงค์สะท้อนถึงค่าความยืดหยุ่นได้ก็ต่อเมื่อเปรียบเทียบที่ระดับ ราคาสินค้าและปริมาณการซื้อเดียวกันเท่านั้น (คือ เส้นอุปสงค์ที่มีความชันมากกว่าจะ มีความยืดหยุ่นน้อยกว่า)
Ed < 1 Ed = 0 ราคา Ed = 1 Ed > 1 Ed = ∞ 0 ปริมาณ ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา (ต่อ)
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้ (Ey)(Income Elasticity of Demand)
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้ (Ey)(Income Elasticity of Demand) Ey คือ เปอร์เซนต์การเปลี่ยนแปลงปริมาณความต้องการซื้อเมื่อระดับรายได้เปลี่ยนแปลงไป 1 เปอร์เซ็นต์ Ey =% การเปลี่ยนแปลงปริมาณความต้องการซื้อ % การเปลี่ยนแปลงระดับรายได้ของผู้ซื้อ 1. Point Elasticity (แบบจุด) Ed = (Q2-Q1) . Y 2. Arc Elasticity(แบบช่วง) Ed = (Q2-Q1) . (Y1+Y2) Q (Y2-Y1) (Y2-Y1) (Q1+Q2)
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้ (Ey) (ต่อ) รายได้ 20,000 บาท/เดือน มีรถ 1 คัน รายได้ 100,000 บาท/เดือน มีรถ 4 คัน รายได้เพิ่ม ความยืดหยุ่นของอุปสงค์รถยนต์ต่อรายได้คือ?
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้ (Ey) (ต่อ) รายได้ 10,000 บาท/เดือน มีมอเตอร์ไซค์ 4 คัน รายได้ 35,000 บาท/เดือน มีมอเตอร์ไซค์ 1 คัน รายได้เพิ่มขึ้น เลิกใช้มอเตอร์ไซค์ หันมาใช้รถยนต์แทน ความยืดหยุ่นของอุปสงค์มอเตอร์ไซค์ต่อรายได้คือ?
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้ (Ey) (ต่อ) • Ey > 0 , สินค้าปกติ (Normal Goods) รูปที่1 • Ey < 0 , สินค้าด้อยคุณภาพ(Inferior Goods) รูปที่2 Y Y D D 0 Q 0 Q รูปที่1 ความสัมพันธ์ของอุปสงค์ ต่อรายได้เป็นบวก รูปที่2 ความสัมพันธ์ของอุปสงค์ ต่อรายได้เป็นลบ
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้ (Ey) (ต่อ) Ey > 0 , สินค้าปกติ (Normal Goods) รายได้ (Y) D B 2,000 A 1,000 Ey ณ รายได้ระหว่าง 1,000-2,000 บาท = 0.6 จำนวนชามก๊วยเตี๋ยวที่ทานในหนึ่งเดือน (Q) 10 15 0
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้ (Ey) (ต่อ) Ey < 0 , สินค้าด้อยคุณภาพ(Inferior Goods) รายได้ (Y) Slope (-), Ey < 0 B 2,000 A 1,000 Ey ณ รายได้ระหว่าง 1,000-2,000 บาท = -0.6 D จำนวนซองมาม่าที่ทานในหนึ่งเดือน (Q) 0 20 30
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ไขว้ (Ec)(Cross Elasticity of Demand)
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ไขว้ (Ec)(Cross Elasticity of Demand) Ec คือ เปอร์เซนต์การเปลี่ยนแปลงปริมาณความต้องการซื้อสินค้าชนิดหนึ่งเมื่อราคาสินค้าอีกชนิดหนึ่งเปลี่ยนแปลงไป 1 เปอร์เซ็นต์ Ec =% การเปลี่ยนแปลงปริมาณความต้องการซื้อสินค้าชนิดหนึ่ง % การเปลี่ยนแปลงระดับราคาสินค้าชนิดอื่น 1. Point Elasticity (แบบจุด) Ed = (Qa2-Qa1) . Pb 2. Arc Elasticity(แบบช่วง) Ed = (Qa2-Qa1) . (Pb1+Pb2) (Pb2-Pb1) Qa (Qa1+Qa2) (Pb2-Pb1)
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ไขว้(Ec) (ต่อ) รถยนต์คันละ 5 แสนบาท มอเตอร์ไซค์คันละ 5 หมื่นบาท รถยนต์คันละ 5 แสนบาท มอเตอร์ไซค์คันละ 3 แสนบาท คนหันมาใช้รถยนต์แทนมอเตอร์ไซค์ ถ้าราคามอเตอร์ไซค์แพงขึ้น ความยืดหยุ่นของอุปสงค์รถยนต์ต่อราคามอเตอร์ไซค์คือ?
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ไขว้(Ec) (ต่อ) ถ้าน้ำมันลิตรละ 40 บาท มีรถประจำบ้านแค่ 1 คัน ถ้าน้ำมันลิตรละ 15 บาท มีรถประจำบ้าน 4 คัน น้ำมันราคาถูก คนจะซื้อรถกันมากขึ้น ความยืดหยุ่นของอุปสงค์รถยนต์ต่อราคาน้ำมันคือ?
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ไขว้(Ec) (ต่อ) เนื่องจากสินค้ามี 2 ชนิด คือ • สินค้าที่ใช้ทดแทนกัน (Ec>0) • สินค้าที่ใช้ควบคู่กัน (Ec<0) Pb Pb D สินค้าที่ใช้ ควบคู่กัน สินค้าที่ใช้ ทดแทนกัน Ec>0 Ec<0 D Qa 0 Qa 0 รูปที่1 ความสัมพันธ์ของอุปสงค์สินค้า a ต่อราคาสินค้า b เป็นบวก รูปที่2 ความสัมพันธ์ของอุปสงค์สินค้า a ต่อราคาสินค้า b เป็นลบ
ราคาแก็ซ LPG Dน้ำมัน N 15 M 10 Slope (+), Ec > 0 50 70 ปริมาณน้ำมัน 0 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ไขว้(Ec) (ต่อ) 1. สินค้าที่ใช้ทดแทนกัน (Ec>0) Ecของน้ำมัน ณ ราคาแก็ซ LPG ระหว่าง 10-15 บาท = 0.83
ราคาน้ำมัน M Slope (-), Ec < 0 15 N 10 Dการใช้รถ ปริมาณการใช้รถ 60 80 0 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ไขว้(Ec) (ต่อ) 2. สินค้าที่ใช้ควบคู่กัน (Ec<0) Ecของการใช้รถ ณ ราคาน้ำมันระหว่าง 10-15 บาท = -0.71
ความยืดหยุ่นของอุปทาน (Es) (Elasticity of Supply)
ความยืดหยุ่นของอุปทาน (Elasticity of Supply) ความยืดหยุ่นของอุปทาน คือ ปริมาณการตอบสนองของความต้องการขายของ ผู้ขายเมื่อปัจจัยที่เกี่ยวข้องเปลี่ยนไป ความยืดหยุ่นของอุปทาน =% การเปลี่ยนแปลงของปริมาณความต้องการขาย % การเปลี่ยนแปลงของปัจจัยที่เกี่ยวข้อง
ความยืดหยุ่นของอุปทาน (Elasticity of Supply) มี 1 ชนิด คือ ความยืดหยุ่นของอุปทานต่อราคา (Price Elasticity of Supply)
ความยืดหยุ่นของอุปทานต่อราคา (Es)(Price Elasticity of Supply) Es คือ เปอร์เซนต์การเปลี่ยนแปลงปริมาณความต้องการขายเมื่อราคาสินค้าเปลี่ยนแปลงไป 1 เปอร์เซ็นต์ Es =% การเปลี่ยนแปลงปริมาณความต้องการขาย % การเปลี่ยนแปลงของราคาสินค้า 1. Point Elasticity (แบบจุด) Ed = (Q2-Q1) . P 2. Arc Elasticity(แบบช่วง) Ed = (Q2-Q1) . (P1+P2) (P2-P1) Q (P2-P1) (Q1+Q2)
ความยืดหยุ่นของอุปทานต่อราคา (Es) (ต่อ) ชาวนาเอาข้าวสารออกขาย 100 กระสอบ ถ้าข้าวสารกระสอบละ 150 บาท ชาวนาเอาข้าวสารออกขาย 120 กระสอบ ถ้าข้าวสารกระสอบละ 300 บาท ชาวนาเอาข้าวสารออกขายมากขึ้น เมื่อราคาข้าวสูงขึ้น ความยืดหยุ่นของอุปทานข้าวสารต่อราคาคือ?
ความยืดหยุ่นของอุปทานต่อราคา (Es) (ต่อ) โนเกียนำมือถือออกขาย 5 เครื่อง ถ้ามือถือเครื่องละ 4,000 บาท โนเกียนำมือถือออกขาย 1 เครื่อง ถ้ามือถือเครื่องละ 2,000 บาท โนเกียนำมือถือออกขายมากขึ้น เมื่อราคามือถือสูงขึ้น ความยืดหยุ่นของอุปทานมือถือต่อราคาคือ?
ความยืดหยุ่นของอุปทานต่อราคา (Es) (ต่อ) ข้าวสารมี Es = 0.27 มือถือมี Es = 2 สรุป • โดยมากสินค้าเกษตรและหัตถกรรมจะมีความหยืดยุ่นต่ำ • โดยมากสินค้าอุตสาหกรรมหรือสินค้าไฮเทคจะมีความหยืดยุ่นสูง
ความยืดหยุ่นของอุปทานต่อราคา (Es) (ต่อ) เราสามารถจัดกลุ่มอุปทานต่อราคาได้เป็น 5 กลุ่มคือ • อุปทานมีค่าความยืดหยุ่นมาก (Ed > 1) Elastic • อุปทานมีค่าความยืดหยุ่นน้อย (Ed < 1) Inelastic • อุปทานมีค่าความยืดหยุ่นเท่ากับ หนึ่ง (Ed = 1) • อุปทานมีค่าความยืดหยุ่นอินฟินิตี้ (Ed =∞) • อุปทานไม่มีความยืดหยุ่น (Ed = 0)
ราคา(P) S B 15 A 10 Slope (+) 300 320 ปริมาณ (Q) 0 ความยืดหยุ่นของอุปทานต่อราคา (Es) (ต่อ) เนื่องจากอุปทานจะแปรผันตามราคาของสินค้าเสมอ ดังนั้น ความยืดหยุ่นของอุปทาน ต่อราคาจะเป็นบวกเสมอ Esณ ราคา 15 บาท = 0.19 Esณ ช่วงราคา 10 - 15 บาท = 0.16