1 / 20

Probability & Statistics

Probability & Statistics. 2301520 Fundamentals of AMCS. Probability Theory ( ทฤษฎีความน่าจะเป็น ). “ ความแน่นอนคือความไม่แน่นอน ” ทฤษฎีความน่าจะเป็น เป็นการนำคณิตศาสตร์มาใช้ในการอธิบายความไม่แน่นอน Sample Space the set of all outcomes of an experiment Event

borka
Download Presentation

Probability & Statistics

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Probability & Statistics 2301520 Fundamentals of AMCS

  2. ProbabilityTheory (ทฤษฎีความน่าจะเป็น) • “ความแน่นอนคือความไม่แน่นอน” • ทฤษฎีความน่าจะเป็น เป็นการนำคณิตศาสตร์มาใช้ในการอธิบายความไม่แน่นอน • Sample Space • the set of all outcomes of an experiment • Event • a subset of of the sample space • ตัวอย่าง 1 ผลที่ได้จากการโยนลูกเต๋าหนึ่งลูก (discrete) • ตัวอย่าง 2 ช่วงเวลาที่หลอดไฟจะใช้งานได้จนกว่าจะเสีย (continuous)

  3. ProbabilityFunction • ให้ S เป็น Sample space สมมุติว่าเซต B เป็นเซตของสับเซต(หรือ Event)ของ S ที่มีสมบัติต่อไปนี้ • ∈B • ถ้า A∈B แล้ว Ac∈B • ถ้า แล้ว (เรียก B ว่าเป็น sigma algebra ของ S) ฟังก์ชันความน่าจะเป็น P คือฟังก์ชันที่มีโดเมนเป็น B และสอดคล้องกับสมบัติต่อไปนี้ • P:B→ [0,1] • P(S)=1 • ถ้าเหตุการณ์ เป็นเหตุการณ์ไม่เกิดร่วม จะได้ว่า

  4. ProbabilityFunction • หากมีการทดลองทำซ้ำเพื่อหาผลอะไรสักอย่างเป็นระยะเวลานานๆ P(A) บอกถึงสัดส่วนของเหตุการณ์ A ที่จะเกิดขึ้นเทียบกับผลที่เกิดขึ้นทั้งหมด

  5. Random Variables • ตัวแปรสุ่ม (Random Variable) เป็นตัวแปรที่ใช้แทนค่าของเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น โดยต้องมีค่าเป็นตัวเลข (ซึ่งอาจเป็นตัวเลขที่เป็นผลของเหตุการณ์โดยตรง หรือ ผลของเหตุการณ์สามารถแทนความหมายด้วยตัวเลขได้) • ตัวอย่าง 1 X เป็นตัวแปรสุ่มที่ใช้แทนหน้าที่เกิดจากการโยนลูกเต๋าหนึ่งลูก • ตัวอย่าง 2 X เป็นตัวแปรสุ่มที่ใช้แทนหน้าที่เกิดจากการโยนเหรียญหนึ่งเหรียญ • ตัวอย่าง 3 X เป็นตัวแปรสุ่มที่ใช้แทนช่วงเวลาที่หลอดไฟจะใช้งานได้จนกว่าจะเสีย

  6. Probability Density Function(pdf) • ฟังก์ชันความหนาแน่นของความน่าจะเป็น • ถ้า X เป็นตัวแปรสุ่ม discrete จะเรียกว่า probability mass function (pmf) ซึ่งหมายถึง p(x) = P(X = x) • ถ้า X เป็นตัวแปรสุ่ม continuous pdfคือฟังก์ชัน f(x)≥0 ที่มีสมบัติว่า • ตัวอย่างตัวแปรสุ่มจากหน้าที่ 5

  7. Cumulative Distribution Function (cdf) • ฟังก์ชันการแจกแจงสะสม • ถ้า X เป็นตัวแปรสุ่ม discrete และมี p(x) เป็น pdfแล้ว cdfคือ • ถ้า X เป็นตัวแปรสุ่ม continuous และมี f(x) เป็น pdfแล้ว cdfคือ • ตัวอย่างตัวแปรสุ่มจากหน้าที่ 5

  8. Expectation • ค่าคาดหมาย (Expected Value) ของตัวแปรสุ่ม X แทนด้วย E[X] • ถ้า X เป็นตัวแปรสุ่ม discrete และมี p(x) เป็น pdfแล้ว • ถ้า X เป็นตัวแปรสุ่ม continuous และมี f(x) เป็น pdfแล้ว • ตัวอย่างตัวแปรสุ่มจากหน้าที่ 5

  9. Variance • ความแปรปรวน (Variance) ของตัวแปรสุ่ม X แทนด้วย Var(X) นิยามเป็น • ในทางปฏิบัติ คำนวณจากสูตรต่อไปนี้จะง่ายกว่า • ตัวอย่างตัวแปรสุ่มจากหน้าที่ 5

  10. Pmf/pdfที่ใช้บ่อย • Bernoulli: ตัวแปรสุ่ม X มีค่าสองค่าคือ 0 (Failure) และ 1(Success) parameter: p (ความน่าจะเป็น P(X=1)) pmf: ตัวอย่าง: ให้ X แทนผลลัพธ์ของการโยนเหรียญ 1 เหรียญ โดย X=1 หมายถึงออกหัว X=0หมายถึงออกก้อย ให้ความน่าจะเป็นของการออกหัวเป็น 1/3ดังนั้น เราจะได้ p(1) = , p(0) = , E[X]= , Var(X)=

  11. Pmf/pdfที่ใช้บ่อย • Discrete Uniform • ตัวแปรสุ่ม X คือผลจากการทดลองที่มีทั้งหมด N แบบ โดยที่มีความน่าจะเป็นในการเกิดแต่ละแบบเท่าๆกัน parameter: N pmf: ตัวอย่าง: ให้ X แทนหน้าที่เกิดจากการโยนลูกเต๋าเที่ยงตรง 1 ลูก p(x) = , สำหรับ x=1,2,…,6

  12. Pmf/pdfที่ใช้บ่อย • Binomial Distribution • ตัวแปรสุ่ม X คือจำนวนของการทดลองที่สำเร็จจากการทำการทดลองซ้ำทั้งหมด n ครั้ง parameters: n จำนวนของการทดลองทำซ้ำทั้งหมด p ความน่าจะเป็นที่การทดลองหนึ่งครั้งสำเร็จ pmf : • ตัวอย่าง: สมมุติว่าเราโยนเหรียญ 1 เหรียญทั้งหมด 10 ครั้ง ให้ X แทนจำนวนการโยนที่ให้ผลลัพธ์เป็น"หัว“ให้ความน่าจะเป็นของการออกหัวของเหรียญดังกล่าวเป็น 1/3 จงหาความน่าจะเป็นที่จะออกหัว 1) 5 ครั้งพอดี 2)ไม่เกิน 2ครั้ง

  13. Pmf/pdfที่ใช้บ่อย • Geometric Distribution • ตัวแปรสุ่ม X คือจำนวนของการทดลองที่ทำซ้ำจนกว่าจะสำเร็จ parameters: p ความน่าจะเป็นที่การทดลองหนึ่งครั้งสำเร็จ pmf : • ตัวอย่าง: ให้ X แทนจำนวนการโยนการโยนเหรียญ 1 เหรียญจนกระทั่งได้ผลลัพธ์เป็น"หัว“ให้ความน่าจะเป็นของการออกหัวของเหรียญดังกล่าวเป็น 1/3 จงหาความน่าจะเป็นที่จะต้องโยนทั้งหมด • 1) 5 ครั้งพอดี 2)ไม่เกิน 2ครั้ง

  14. Pmf/pdfที่ใช้บ่อย • Uniform • ตัวแปรสุ่ม X นิยมใช้แทนค่าจำนวนจริงที่อยู่ระหว่างช่วง [a,b] parameters: a,bค่าขอบล่างและบนของช่วง [a,b] pdf :

  15. Pmf/pdfที่ใช้บ่อย • Normal Distribution • ตัวแปรสุ่ม X นิยมใช้อธิบายปรากฏการณ์หลายอย่างในชีวิตประจำวัน parameters: μค่าเฉลี่ย (mean) σคือค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (standard deviation) pdf : • ถ้า μ=0, σ=1 เรียกการแจกแจงนี้ว่าเป็นการแจกแจงแบบปกติมาตรฐาน (Standard Normal Distribution) ค่าpdfมักจะใช้สัญลักษณ์ นั่นคือ และค่า cdfใช้

  16. Central Limit Theorem (CLT) พิจารณาลำดับของตัวแปรสุ่มที่เป็นอิสระต่อกันและมีการแจกแจงเหมือนกัน (independent and identically distributed หรือ iid) โดยการแจกแจงดังกล่าวมีค่าเฉลี่ยและความแปรปรวนเป็นค่าจำกัด ผลรวมของตัวแปรสุ่มเหล่านั้นในจำนวนที่มากพอ จะมีการแจกแจงเข้าใกล้การแจกแจงแบบปกติ

  17. Statistics • Tools for organizing and analyzing data. • Two branches • Descriptive Statistics • “describe” data, e.g. mean, mode, median, frequency • Inferential Statistics • make predictions or comparisons about a population using information from a smaller group (sample)

  18. Population • ให้ N แทนขนาดของประชากร และ xiแทนค่าเชิงตัวเลขของประชากรที่ i • Population Mean: • Population Variance:

  19. Sample • ให้ n แทนขนาดของกลุ่มตัวอย่าง และ yiแทนค่าเชิงตัวเลขของตัวอย่างที่ i • Sample Mean: • Sample Variance: • ทั้งคู่เป็น unbiased estimators ของ mean และ variance ของประชากร

  20. Confidence Interval • ช่วงความเชื่อมั่น (Confidence Interval) ของ μ ที่มีระดับความเชื่อมั่นเปอร์เซ็นต์ หมายถึงว่า ความน่าจะเป็นที่ μ จะอยู่ในช่วงดังกล่าวคือประมาณ • จาก Central Limit Theorem ถ้าขนาดของกลุ่มตัวอย่างใหญ่พอช่วงดังกล่าวคำนวณได้จาก

More Related