310 likes | 1.1k Views
ประวัติความเป็นมาของ วิชา ภาษาศาสตร์. โดย รศ. ดร. อุทัย ภิรมย์รื่น. การแบ่งยุคการศึกษาภาษาศาสตร์ โดย Professor Dr. Charles Fries. ยุคที่ ๑ ค.ศ. ๑๘๒๐ – ๑๘๗๕ (พ.ศ. ๒๓๔๓ – ๒๔๑๘) ยุคที่ ๒ ค.ศ. ๑๘๗๕ – ๑๙๒๕ (พ.ศ. ๒๔๑๘ – ๒๔๖๘) ยุคที่ ๓ ค.ศ. ๑๙๒๕ – ๑๙๕๐ (พ.ศ. ๒๔๖๘ – ๒๔๙๓)
E N D
ประวัติความเป็นมาของวิชาภาษาศาสตร์ประวัติความเป็นมาของวิชาภาษาศาสตร์ โดย รศ. ดร. อุทัย ภิรมย์รื่น
การแบ่งยุคการศึกษาภาษาศาสตร์ โดยProfessor Dr. Charles Fries • ยุคที่ ๑ ค.ศ. ๑๘๒๐ – ๑๘๗๕ (พ.ศ. ๒๓๔๓ – ๒๔๑๘) • ยุคที่ ๒ ค.ศ. ๑๘๗๕ – ๑๙๒๕ (พ.ศ. ๒๔๑๘ – ๒๔๖๘) • ยุคที่ ๓ ค.ศ. ๑๙๒๕ – ๑๙๕๐ (พ.ศ. ๒๔๖๘ – ๒๔๙๓) • ยุคที่ ๔ ค.ศ. ๑๙๕๐ – ปัจจุบัน (พ.ศ. ๒๔๙๓ – ๒๕๔๘)
ยุคที่ ๑ ยุคบุกเบิก • ผู้นำในการศึกษา • Erasmus Rask (1818)ชาวเดนมาร์ค แต่งหนังสือชื่อ Investigation on the Origin of the Old Norse or Icelandic Language • Jacob Grimm (1822)ชาวเยอรมันแต่งหนังสือเรื่อง • “Deutsche Grammatik” (ไวยากรณ์เยอรมัน)
ยุคที่ ๑ (ต่อ) • ลักษณะของการศึกษาแบบวิทยาศาสตร์ • Accumulative การเก็บสะสม รวบรวมข้อมูล • Impersonal ไม่เป็นเรื่องเฉพาะตัว • ผู้นำคนต่อมา เป็นชาว.อเมริกัน. • ชื่อ Dr. William Dwight Whitney • อยู่ที่ Yale University สหรัฐอเมริกามีผลงานด้าน... • Linguistics (Language and the Study of Language)
ยุคที่ ๑ (ต่อ) • Oxford Dictionary ค.ศ. ๑๗๕๕, ๑๘๗๘, ๑๙๒๘ • ผู้ริเริ่ม Dr. SamualJohnson(1755).. • ผู้จัดพิมพ์ Sir James Murray (1928)
สรุปผลการศึกษาในยุคแรกสรุปผลการศึกษาในยุคแรก • ๑. ภาษาไม่มีลักษณะหยุดนิ่งตายตัว • ๒. ภาษามีการเปลี่ยนแปลง • ๓. การเปลี่ยนแปลงของภาษาเกิด จากการใช้ภาษาในชุมชนโดยเจ้าของภาษา
การศึกษาในยุคที่ ๒ • จุดเน้น • ๑. เสียงของภาษา • ๒. คำมีความหมายหลายอย่าง • ๓. มีการวิเคราะห์คุณลักษณะของเสียงแล้วนำมาเผยแพร่ • ๔. การใช้ภาษาของเจ้าของภาษาเป็นสิ่งที่ถูกต้อง
การศึกษาในยุคที่ ๓ • จุดเน้นในด้านโครงสร้างของภาษา • ๑. ภาษาศาสตร์ด้านพรรณนา Descriptive Linguistics • ๒. ผู้นำในด้านนี้คือ Professor Leonard Bloomfield แห่งสหรัฐอเมริกา • ๓. Edward Sapir ให้คำจำกัดความของภาษา • ๔. การศึกษาภาษาแบบ“Synchronic และ Diachronic..”
สรุปผลการศึกษาในยุคที่ ๓ • ๑. ภาษาประกอบด้วยโครงสร้าง • ๒. ภาษาประกอบด้วยเสียงพูดออกมาทางลำคอโดยผ่านฐานกรณ์ (ฐานที่เกิดของเสียงในปาก) • ๓. เสียงจะไม่ยาก – ง่ายในตัวของมันเอง • ๔. หน่วยบ่งชี้รูปแบบของคำและประโยคในภาษา
การศึกษาในยุคที่ ๔ • จุดเน้นในด้านการประยุกต์ภาษาศาสตร์ • ผู้นำในด้านนี้ • ๑. Thomas R. Lounsbury (1992-1997) • ๒. Charles C. Fries (1927) • ๓. Kenneth L. Pike
สรุปการศึกษาในยุคปัจจุบันสรุปการศึกษาในยุคปัจจุบัน • ๑. การประยุกต์ความรู้ทางภาษาศาสตร์ไปใช้ในด้านต่างๆ • ๒. ภาษาศาสตร์เชิงจิตวิทยา • ๓. การแปลภาษาด้วยเครื่องจักร • ๔. ไวยากรณ์เพิ่มพูนและไวยากรณ์ปริวรรต • ๕. การขยายตัวของภาษาศาสตร์ไปสู่ศาสตร์อื่นๆ
การแบ่งขอบข่ายของวิชาภาษาศาสตร์การแบ่งขอบข่ายของวิชาภาษาศาสตร์ • ๑. Synchronic vs Diachronic Study • ๒. ภาษาศาสตร์เชิงทฤษฎี และ ภาษาศาสตร์ประยุกต์ • ๓. ภาษาศาสตร์อนุภาค และ ภาษาศาสตร์มหภาค • ๕. Psycholinguistics, Sociolinguistics Anthropological Linguistics, Dialectology