1 / 38

Chapter 4 Nonferrous Light Alloys

Chapter 4 Nonferrous Light Alloys. 1302 310 Engineering Metallurgy Lecturer: Dr.Sukangkana Lee. Outline. 1. Aluminum and its alloys Wrought Cast 2. Temper designation. 1. Aluminium and alloys. Aluminium เป็นโลหะที่มีความสำคัญเป็นอันดับสองรองจากเหล็ก

bernad
Download Presentation

Chapter 4 Nonferrous Light Alloys

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Chapter 4Nonferrous Light Alloys 1302 310 Engineering Metallurgy Lecturer: Dr.Sukangkana Lee

  2. Outline 1. Aluminum and its alloys • Wrought • Cast 2. Temper designation

  3. 1. Aluminium and alloys • Aluminium เป็นโลหะที่มีความสำคัญเป็นอันดับสองรองจากเหล็ก • มีความหนาแน่นน้อย น้ำหนักเบา และมีกำลังวัสดุต่อน้ำหนักสูง • ธาตุส่วนใหญ่สามารถละลายได้ในอลูมิเนียม แต่จะมีบางธาตุที่สามารถละลายได้ในปริมาณที่จำกัดและมีประสิทธิภาพในการเพิ่มความแข็งแรง

  4. อิทธิพลของธาตุผสมต่อคุณสมบัติของอลูมิเนียมอิทธิพลของธาตุผสมต่อคุณสมบัติของอลูมิเนียม

  5. 3. Designation of alloys อลูมิเนียมผสมสามารถแบ่งได้เป็น 2 ประเภทหลัก คือ • อลูมิเนียมรีด (Wrought Aluminium alloys)เช่น foil, sheet, plate, bar, rod, wire, tubing, powder metals and structural shapes • อลูมิเนียมหล่อ (Casting Aluminium alloys)เช่น permanent mould, die casting and sand casting

  6. อะลูมิเนียมผสมรีดกลุ่มที่สามารถเพิ่มความแข็งแรงได้ด้วยกระบวนการทางความร้อนจะเรียกว่า ‘Heat treatable alloy’ ได้แก่ อลูมิเนียมกลุ่ม 2XXX , 5XXXบางตัว, 6XXXและ 7XXX. • กลุ่มที่ไม่สามารถเพิ่มความแข็งแรงด้วยกระบวนการทางความร้อน จะเรียกว่า ‘Non-heat treatable alloy’ ได้แก่ อลูมิเนียมกลุ่มที่เหลือ คือ 1XXX , 3XXX , 4XXXบางตัว และ 5XXXบางตัว แต่สามารถทำให้แข็งแรง โดยการทำแปรรูปเย็น (Strain hardening)

  7. 2xxx Aluminium-Copper alloys • Cu จัดเป็นโลหะที่มีความสำคัญต่ออลูมิเนียมมากที่สุด • สามารถเพิ่มความแข็งแรงให้กับอลูมิเนียมโดย Solid solution strengthening • คุณสมบัติ • มีความแข็งแรง กลึงไสได้ดี • สามารถเชื่อมได้ • ทนทานต่อการกัดกร่อนจากแรงกล • ทนความร้อนได้สูง

  8. Cu จะละลายใน Al ได้มากที่สุด 5.65% ที่ 548 C

  9. ตัวอย่างของการอบชุบ และบ่มแข็งของ Al-4%Cu alloy • Solution heat treatment: First the alloys be heated to about 515 C a uniform solid solution . • Quenching: After the solution treatment, the alloy is quenched to room temperature in water. This quenching produces ‘a supersaturated solid solution of Cu in  phase’. This SSS is not stable.

  10. Ageing: The precipitation of a metastable phase CuAl2 produced at ageing temperature of 130-190 C. โดยมีลำดับการเกิดดังนี้ SSSGP1 Zones (CuAl2) (GP Zone คือ กลุ่มอะตอมของ Cu and Al มีลักษณะเป็นแผ่น หนา 4-6 Å และกว้าง 80-100 Å)

  11. 6xxx Aluminium-Magnesium-Silicon alloys • การผสมกันระหว่าง Mg 0.6-1.2% และ Si 0.4-1.3% ในอลูมิเนียม ทำให้ได้อลูมิเนียมผสมรีดที่สามารถอบชุบเพื่อเพิ่มความแข็งแรงได้โดย Precipitation harndening • เฟส -Mg2Si ซึ่งเป็น intermetallic compound รูปร่างผลึกคล้ายเข็ม (ดังรูป). • ขั้นตอนการเกิดเฟสในการอบชุบได้แก่ SSSGP Zones (Mg2Si) (GP Zones จะมีรูปร่างคล้ายเข็ม)

  12. 7xxx Aluminium-Zinc-Magnesium-Copper alloys • 7000 Series Al alloys are the high strength and heat treatable aluminium alloys containing 4-8wt%Zn and 1-3wt%Mg. Zn and Mg both have high solid solubilities in aluminium (ตารางที่ 3). • เมื่อเราเติมทองแดงประมาณ 1-2wt% จะช่วยเพิ่มความแข็งแรงให้สูงขึ้น และสามารถใช้ในงานอากาศยานได้ • การเติม Cr, Mn, Zr and Ti ลงใน Al-Mg-Zn-Cu alloy จะเป็นการเพิ่มความแข็งแรงด้วยกระบวนการ precipitation hardening และ เป็นตัวควบคุมขนาดเกรน

  13. ขั้นตอนการเกิดเฟสในการอบชุบได้แก่ขั้นตอนการเกิดเฟสในการอบชุบได้แก่ SSSGP Zones (MgZn2) (GP Zones จะมีรูปร่างทรงกลม)

  14. 5. Heat treatment of aluminium alloys • กรรมวิธีทางความร้อน(การอบชุบ) ของอะลูมิเนียมที่สำคัญ ได้แก่ • Age Hardening (SSSPrecipitate phase) • Stress relieving  • Annealing 

  15. ช่วงของอุณหภูมิและเวลาของการอบชุบช่วงของอุณหภูมิและเวลาของการอบชุบ เย็นตัวในอากาศ หรือในเตา เย็นตัวในน้ำ เย็นตัวในอากาศ หรือในเตาอย่างช้าๆ เย็นตัวในอากาศ เย็นตัวในอากาศ A-Annealing to remove cold work B-Anneal to soften heat-treated alloys C-Solution treatment D-Stress relieve E Artificial age hardening

  16. 1. Al-Cu casting alloy • อลูมิเนียมหล่อเกรดนี้จะผสมทองแดงประมาณ 4-5% และมักมีการเติม Mg เล็กน้อยเพื่อเพิ่มความแข็ง • Al-Cu เป็นอลูมิเนียมที่ไม่ค่อยนิยมใช้มากนัก เนื่องจาก มีคุณสมบัติด้านการหล่อที่ไม่ดีเท่าที่ควร มีความต้านทานการกัดกร่อนต่ำ • เฟสไดอะแกรมของ โลหะผสม 222-10%Cu0.2%Mg เป็นโลหะผสมชนิดแรกในกลุ่มที่ถูกพัฒนาขึ้นพื่อผลิตลูกสูบ แต่ถูกแทนที่ด้วยเกรด 242- 4%Cu2%Ni1.5%Mg เพราะทนอุณหภูมิได้สูงกว่าเกรด 222

  17. Cu3NiAl6 Mg2Si NiAl3 CuAl2

  18. 2. Al-Si casting alloys เป็นอลูมิเนียมหล่อที่มีความสำคัญที่สุด มีคุณสมบัติดังนี้ • มีคุณสมบัติในการหล่อที่ดี สามารถไหลเพื่อเติมแบบหล่อได้ดีเยี่ยม • ไม่แข็งตัวเร็วเกินไป • หลังจากเย็นตัวแล้วจะมีการหดตัวน้อย • Si มีส่วนช่วยเพิ่มความต้านทานการกัดกร่อนให้อลูมิเนียมเล็กน้อย ปริมาณของ Si ที่เติมจะไม่เกิน 12wt%

  19. A microstructure of a hypereutectic Al-Si alloy in sand mould Al-Si eutectic Si

  20. Sodium modification • การลดขนาดการผสม Sodium (Na) ลงไปประมาณ 0.025 wt% สามารถทำให้เกรนเล็กลง Microstructure of sand cast Al-7%Si (a) without Na modification and (b) with Na modification giving finer eutectic phase.

  21. 3) Al-Si-Mg casting alloys • เมื่อเราเติม Mg ประมาณ 0.35wt% ลงใน Al-Si alloys จะทำให้สามารถอบชุบเพื่อเพิ่มความแข็งแรงให้สูงขึ้นได้ • อลูมิเนียมเกรดที่มีความสำคัญที่สุด คือ 356 casting alloy ที่มีส่วนผสม 7%Si and 0.35%Mg และ Mg2Si (Magnesium Silicide) ประมาณ 0.5-0.6 wt% • ถ้าเราเติม 0.025%Na ลงใน 356 จะทำให้โครงสร้าง eutectic เล็กลงและมีรูปทรงที่กลมขึ้น

  22. Permanent-mould cast Sand cast 356 casting alloy Die cast

  23. 4) Al-Mg alloys • อลูมิเนียม-แมกนีเซียม ซึ่งในความเป็นจริงจะเป็น Al-Mg-Si ทั้งนี้เพื่อให้เกิด Mg2Si ในการเพิ่มความแข็งแรงให้กับโลหะ • ตัวอย่างของโลหะเกรดนี้ เช่น 512(AlSi1.8Mg4) ใช้สำหรับทำภาชนะทั่วไป มีความแข็งแรงปานกลาง และทนการกัดกร่อนปานกลาง

  24. โครงสร้างจุลภาคของ 512 sand mold

  25. 5) Aluminium-Zinc alloys

  26. 713.1 (AlZn7.5Cu0.7Mg(Fe)) with cooling rate of 5°C/s

  27. 6) Al-Sn alloys • จะผสมดีบุกประมาณ 6% และจะเติมทองแดง และ นิกเกิล เล็กน้อยเพื่อเพิ่มความแข็งแรง • การใช้งาน: ส่วนใหญ่ใช้ในงาน Bearings เนื่องจากจะมีคุณสมบัติหล่อลื่นที่ดีเพราะมีดีบุก มีความต้านทานการกัดกร่อนต่อน้ำมันหลื่อลื่น

  28. ตัวอย่างโลหะกลุ่มนี้ เช่น • 850.0(Al-6.3Sn-1Cu-1Ni) และ 852.0(Al-6.3Sn-2Cu-1.2Ni-0.8Mg)Permanent-mold cast เพื่อผลิต bearing และชิ้นส่วนในเครื่องยนต์ดีเซล • 851.0(Al-6.3Sn-2.5Si-1Cu-0.5Ni) นิยมหล่อแบบทรายหล่อ เช่น rolling mill bearing

More Related