370 likes | 1.3k Views
แบบการวิจัย Research Design. Research Design. เป็นการเลือกวิธีการศึกษาค้นคว้า เพื่อให้ได้คำตอบของการวิจัยที่ถูกต้อง ตรงตามวัตถุประสงค์ และเชื่อถือได้มากที่สุด เพื่อควบคุมความแปรปรวนในการวิจัยหรือลดความคลาดเคลื่อนที่คิดว่าจะเกิดขึ้นให้เหลือน้อยที่สุด. หลักการออกแบบการวิจัย
E N D
Research Design เป็นการเลือกวิธีการศึกษาค้นคว้า เพื่อให้ได้คำตอบของการวิจัยที่ถูกต้อง ตรงตามวัตถุประสงค์ และเชื่อถือได้มากที่สุด เพื่อควบคุมความแปรปรวนในการวิจัยหรือลดความคลาดเคลื่อนที่คิดว่าจะเกิดขึ้นให้เหลือน้อยที่สุด
หลักการออกแบบการวิจัยหลักการออกแบบการวิจัย เพิ่มความแปรปรวนให้แก่ตัวแปรอิสระ ให้มีค่ามากที่สุด Maximize ลดความแปรปรวนที่มาจากความคลาดเคลื่อน ให้มีค่าน้อยที่สุด Minimize ควบคุมตัวแปรแทรกซ้อน Control Research Design
ความเที่ยงตรงของแบบการวิจัยความเที่ยงตรงของแบบการวิจัย Internal Validity ตัวแปรต้นเป็นสาเหตุที่แท้จริงที่ทำให้เกิด ความเปลี่ยนแปลงในตัวแปรตาม (จริงๆ) External Validity ผลการศึกษาวิจัยจากกลุ่มตัวอย่าง สามารถสรุป อ้างอิงไปยังประชากรได้อย่างถูกต้อง
วิธีควบคุมตัวแปรแทรกซ้อนวิธีควบคุมตัวแปรแทรกซ้อน • ใช้สถิติวิเคราะห์ข้อมูล (ความแปรปรวนร่วม) • การกำจัดตัวแปรเกิน • ใช้กลุ่มตัวอย่างเดิมทดลองซ้ำหลาย ๆ ครั้ง • ใช้หลาย ๆ วิธีผสมผสานกัน
แบบการวิจัย Research Design แบบไม่ทดลอง non experimental design แบบทดลอง experimental design
การออกแบบการวิจัย การวิจัยแบบไม่ทดลอง (non experimental design) การวิจัยแบบทดลอง (experimental design) การวิจัยเชิงพรรณนา (descriptive research) สิ่งที่ศึกษาเป็นคน สิ่งที่ศึกษาไม่ใช่คน (พืช สัตว์ สิ่งของ) Pre-Experiment X O / O1 X O2 • CRD • RCB • LS และอื่นๆ การวิจัยเชิงสหสัมพันธ์ (correlational research) Quasi-Experiment กลุ่มทดลอง : O1 X O2 กลุ่มควบคุม :O1 O2 การวิจัยเชิงเปรียบเทียบสาเหตุ (causal-comparative research) True-Experiment กลุ่มทดลอง : RO1 X O2 กลุ่มควบคุม :RO1 O2
การออกแบบการวิจัยแบบไม่ทดลองการออกแบบการวิจัยแบบไม่ทดลอง - เป็นการวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการพรรณนาลักษณะตัวอย่างของคนกลุ่มหนึ่งหรือปรากฏการณ์อันหนึ่ง - เป็นการศึกษาสภาพการณ์ตามที่ปรากฏ โดยไม่มีการจัดกระทำตัวแปรหรือสถานการณ์ใดๆ ตัวอย่าง 1. “ทัศนคติของสมาชิกต่อการดำเนินงานโครงการกองทุนหมู่บ้านหนึ่งล้านบาท” 2. “ขวัญในการปฏิบัติงานของครูในภาคใต้ของประเทศไทย” 3. “ความต้องการฝึกอบรมทักษะการใช้คอมพิวเตอร์ของนักศึกษา” แบบการวิจัยเชิงพรรณนา (descriptive research design)
แบบการวิจัยเชิงสหสัมพันธ์ (Correlational research design) เป็นแบบการวิจัยที่ใช้อธิบาย หรือ ทำนายความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร 1. ศึกษาความสัมพันธ์เชิงบรรยาย (Explanatory approach) เป็นการศึกษาความสัมพันธ์ทางสถิติระหว่างตัวแปร x กับ y โดยบรรยายความสัมพันธ์ใน 2 ประเด็นคือ ขนาดความสัมพันธ์ และทิศทางความสัมพันธ์ ตัวอย่าง “ ความสัมพันธ์ระหว่างแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ในการทำงานกับลักษณะ บางประการของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏ” 2. ศึกษาความสัมพันธ์เชิงทำนาย (Predictive approach) โดยใช้ตัวแปร x ทำนายตัวแปร y ตามสมการ y = a + bx ตัวอย่าง 1. “ทัศนคติต่ออาชีพครูกับความสำเร็จในการเข้ารับการฝึกอบรมของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาเชียงใหม่ เขต 1 ” 2. “ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการยอมรับเทคโนโลยีการเรียนการสอน ของครู ในจังหวัดเชียงใหม่ ”
แบบการวิจัยเชิงเปรียบเทียบสาเหตุ(Causal-comparative research design) เป็นการวิจัยที่มุ่งค้นหาความสัมพันธ์เชิงสาเหตุ บางครั้งเรียกว่า ex post facto research เพราะเป็นการศึกษาย้อนจากผลหรือความจริงที่ปรากฏแล้ว เพื่อค้นหาสาเหตุที่อาจเป็นไปได้ จำแนกได้ 2 รูปแบบ 1. Criterion Group หรือ Causal-Comparative Model กลุ่มที่ 1 :(X) O กลุ่มที่ 2 : O ลักษณะเป็นการเปรียบเทียบกลุ่มตามตัวแปรหลัก (X) ที่คาดว่าเป็นสาเหตุให้เกิดผล O ซึ่งตัวแปร (X) เกิดขึ้นแต่ก่อนแล้วโดยผู้วิจัยไม่ได้จัดกระทำ ตัวอย่าง “เปรียบเทียบประสิทธิผลการปฏิบัติงานของครูพี่เลี้ยงที่จบการศึกษาทางปฐมวัย กับที่ไม่ได้จบการศึกษาทางปฐมวัย ในเขตพื้นที่ภาคเหนือของประเทศไทย”
การออกแบบการวิจัยแบบทดลองการออกแบบการวิจัยแบบทดลอง การออกแบบการวิจัยแบบทดลอง มีจุดมุ่งหมายสำคัญเพื่อทดสอบความสัมพันธ์เชิงสาเหตุระหว่างตัวแปรต่างๆ โดยมีองค์ประกอบที่สำคัญคือ 1.มีการจัดกระทำตัวแปรอิสระที่ผู้วิจัยสนใจ (manipulation) 2.มีการควบคุมตัวแปรอิสระตัวอื่นๆ (control) 3.มีการสุ่มผู้ถูกศึกษาเข้ากลุ่มแบบสมบูรณ์ (randomization) 4.มีการเปรียบเทียบผลที่เกิดขึ้น (observation) สิ่งที่ศึกษาเป็นคน
สัญลักษณ์ X การให้ตัวแปรทดลอง การจัดกระทำ การทดลอง O การสังเกต การทดสอบ การวัด O1 การสังเกต การทดสอบ การวัดก่อนการทดลอง O2การสังเกต การทดสอบ การวัดหลังการทดลอง R การสุ่มตัวอย่าง Random C กลุ่มควบคุม Control Group E กลุ่มทดลอง Experimental Group
แบบการวิจัยก่อนทำการทดลองแบบการวิจัยก่อนทำการทดลอง แบบหนึ่งกลุ่มวัดครั้งเดียว (The One - Shot Case Study) เป็นแบบการวิจัย 1 กลุ่มได้รับการจัดกระทำ หลังจากนั้นทำการทดสอบ Treatment Test X O ใช้วิธีสอนแบบใหม่ เพื่อจะดูผลการเรียนของเด็ก เมื่อสอนจบ แล้วจึงทำการทดสอบโดยเทียบกับเกณฑ์
แบบการวิจัยก่อนทำการทดลองแบบการวิจัยก่อนทำการทดลอง แบบหนึ่งกลุ่ม วัดก่อน วัดหลัง (The One – Group Pretest-Posttest Design) เป็นแบบการวิจัย 1 กลุ่ม มีการวัดก่อน และหลังการจัดกระทำ Pretest Treatment Posttest O1 X O2 ก่อนการทดลองมีการวัดก่อน เมื่อทดลองแล้ว ทำการวัดอีกครั้ง แล้วนำผลการวัดก่อนและวัดหลังมาเปรียบเทียบดูความแตกต่าง
แบบการวิจัยก่อนทำการทดลองแบบการวิจัยก่อนทำการทดลอง แบบเปรียบเทียบสองกลุ่ม ที่คงที่ (The Static – Group Comparision Design) เป็นแบบการวิจัย 2 กลุ่ม ไม่มีการสุ่ม Treatment Test E X O C O กลุ่มทดลองได้รับการจัดกระทำ กลุ่มควบคุมไม่ได้รับการจัดกระทำ เมื่อทดลองแล้ว ทำการวัดทั้งสองกลุ่มในเวลาเดียวกัน นำผลการวัดมาเปรียบเทียบความแตกต่าง
แบบการวิจัยกึ่งทดลอง แบบสองกลุ่ม ไม่ได้สุ่ม มีการวัดก่อนและหลัง (The Nonrandomized Control Group Design) Pretest Treatment Posttest E O1 X O2 C O1 O2 สองกลุ่มไม่ได้รับการสุ่ม ทำการวัดก่อนทั้งสองกลุ่ม จัดกระทำกับกลุ่มทดลอง แล้วทำการวัดทั้งสองกลุ่มในเวลาเดียวกัน นำผลการวัดมาเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างกลุ่ม และก่อน-หลัง
แบบการวิจัยกึ่งทดลอง แบบหนึ่งกลุ่ม ศึกษาระยะยาว (The Time - Series Design) Pretest Treatment Posttest O1 O2 O3 O4 X O5 O6 O7 O8 ทำการวัดก่อนการทดลองหลายครั้ง เมื่อทำการทดลองแล้ว วัดอีกหลายครั้ง เปรียบเทียบผลที่เกิดขึ้นก่อนและหลังการทดลอง และศึกษาแนวโน้มการเปลี่ยนแปลง
แบบการวิจัยกึ่งทดลอง แบบสองกลุ่ม ศึกษาระยะยาว (The Control Group Time - Series Design) Pretest Treatment Posttest E O1 O2 O3 O4 X O5 O6 O7 O8 C O1 O2 O3 O4 O5 O6 O7 O8 สองกลุ่มไม่ได้รับการสุ่ม เพิ่มกลุ่มควบคุม ทำการวัดก่อนทั้งสองกลุ่ม จัดกระทำกับกลุ่มทดลอง แล้วทำการวัดทั้งสองกลุ่มในเวลาเดียวกัน นำผลการวัดมาเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างกลุ่ม และก่อน-หลัง
แบบการวิจัยกึ่งทดลอง แบบหลายกลุ่มหมุนเวียน (The Counterbalanced Design / Rotation / Cross Over) Treatment Group 1 2 3 4 A X1 O X2 O X3 O X4 O B X2 O X3 O X4 O X1 O C X3 O X4 O X1 O X2 O D X4 O X1 O X2 O X3 O
แบบการวิจัยกึ่งทดลอง แบบแฟคตอเรียล (Factorial Design ) มีตัวแปรต้น 2 ตัว หรือมากกว่า อย่างน้อย 1 ตัวแปรถูกจัดกระทำ แล้วศึกษาผลของตัวแปรตาม และศึกษาความสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน
แบบการวิจัยทดลองจริง แบบสองกลุ่ม วัดก่อนและวัดหลัง (The Pretest – Posttest Control Group Design) Pretest Treatment Posttest E R O1 X O2 C R O1 O2 ทำการสุ่มเข้ากลุ่มทดลอง หรือกลุ่มควบคุม ทำการวัดก่อนทั้งสองกลุ่ม จัดกระทำกับกลุ่มทดลอง แล้วทำการวัดทั้งสองกลุ่มในเวลาเดียวกัน นำผลการวัดมาเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างกลุ่ม และก่อน-หลัง
แบบการวิจัยทดลองจริง แบบสองกลุ่ม วัดครั้งเดียว (The Posttest Only Control Group Design) Treatment Test E R X O2 C R O2 สองกลุ่มได้รับการสุ่มเข้ากลุ่มทดลอง หรือกลุ่มควบคุม ทำการทดลองกับกลุ่มทดลอง แล้ววัดผลทั้งสองกลุ่ม นำผลการวัดมาเปรียบเทียบความแตกต่าง
แบบการวิจัยทดลองจริง แบบสี่กลุ่มของโซโลมอน (The Solomon Four – Group Design) Group Pretest Treatment Posttest 1 R O1 X O2 2 R O1 O2 3 R X O2 4 R O2 สองกลุ่มได้รับการสุ่มเข้ากลุ่มทดลอง หรือกลุ่มควบคุม ทำการทดลองกับกลุ่มทดลอง แล้ววัดผลทั้งสองกลุ่ม