1 / 55

ตัวบ่งชี้และวิธีการประเมินรอบ 3 ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน

ตัวบ่งชี้และวิธีการประเมินรอบ 3 ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน. โดย รองศาสตราจารย์ ดร. สมาน อัศวภูมิ อาจารย์คณะครุศาสตร์ และ ประธานศูนย์เครือข่าย สมศ. มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบราชธานี 26 มีนาคม 2554. (สมาน อัศวภูมิ 255 4 ). วัตถุประสงค์การประเมิน.

aurora
Download Presentation

ตัวบ่งชี้และวิธีการประเมินรอบ 3 ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ตัวบ่งชี้และวิธีการประเมินรอบ 3 ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดย รองศาสตราจารย์ ดร. สมาน อัศวภูมิ อาจารย์คณะครุศาสตร์ และ ประธานศูนย์เครือข่าย สมศ. มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบราชธานี 26 มีนาคม 2554 (สมาน อัศวภูมิ 2554)

  2. วัตถุประสงค์การประเมินวัตถุประสงค์การประเมิน • 1. เพื่อให้ทราบระดับคุณภาพของสถานศึกษาในการดำเนินพันธ์กิจด้านด้านๆ • 2. เพื่อกระตุ้นเตือนให้สถานศึกษาพัฒนาคุณภาพการศึกษาและประสิทธิภาพการบริหารจัดการอย่างต่อเนื่อง • 3. เพื่อให้ทราบความก้าวหน้าของการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา • 4. เพื่อรายงานระดับคุณภาพและพัฒนาการในด้านคุณมาตรและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาต่อสาธารณชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง (สมาน อัศวภูมิ 2554)

  3. ทบทวนความสัมพันธ์ระหว่างการประกันคุณภาพภายในกับการประเมินคุณภาพภายนอกทบทวนความสัมพันธ์ระหว่างการประกันคุณภาพภายในกับการประเมินคุณภาพภายนอก การปฏิบัติงาน ของสถานศึกษา การประเมินตนเอง ของสถานศึกษา การตรวจเยี่ยม รายงานผลการประเมิน การติดตามผล รายงาน การประเมินตนเอง ข้อมูลป้อนกลับ ข้อมูลป้อนกลับ (สมาน อัศวภูมิ 2554)

  4. มาตรฐานในการประเมินภายนอกรอบ 3 • มี 4 มาตรฐาน • 12 ตัวบ่งชี้ และ 25 ตัวบ่งชี้ย่อย • แบ่งเป็น 3 กลุ่ม คือ กลุ่มตัวบ่งชี้พื้นฐาน อัตลักษณ์ และมาตรการส่งเสริม (สมาน อัศวภูมิ 2554)

  5. สรุปมาตรฐานและตัวบ่งชี้ รอบ 3 • มาตรฐาน /กลุ่มตัวบ่งชี้ พ อ ส • ผลการจัดการศึกษา 1-5 9-10 11 • การบริหารจัดการ 712 • การจัดการเรียน การสอน6 • การประกันคุณภาพภายใน8 (สมาน อัศวภูมิ 2554)

  6. ตัวบ่งชี้หลัก ทั้ง 12 ตัว และตัวบ่งชี้ย่อย ทั้ง 25 ตัว มีสาระสำคัญดังจะได้นำเสนอต่อไป แต่ข้อความได้ปรับเพื่อสะดวกในการจำและการนำไปใช้ (ดูข้อความเต็มได้ในคู่มือ) (สมาน อัศวภูมิ 2554)

  7. ตัวบ่งชี้ที่ 1 ผู้เรียนมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี (10 คะแนน) 1.1 สุขภาพกาย : มีน้ำหนัก ส่วนสูง และสมรรถภาพทางกายตามเกณฑ์ และรู้จักดูแลตนเองให้ปลอดภัย (5) 1.2 สุขภาพจิต : ผู้เรียนมีสุนทรียภาพ (5) (สมาน อัศวภูมิ 2554)

  8. ตัวบ่งชี้ที่ 2 ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ (10 คะแนน) 2.1 เป็นลูกที่ดี (4) 2.2 เป็นนักเรียนที่ดี (4) 2.3 มีการบำเพ็ญประโยชน์ต่อสังคม (2) (สมาน อัศวภูมิ 2554)

  9. ตัวบ่งชี้ที่ 3 ผู้เรียนมีความใฝ่รู้ และเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง (10 คะแนน) 3.1 ค้นคว้าหาความรู้จากการอ่านและใช้เทคโนโลยี (5) 3.2 เรียนรู้ผ่านประสบการณ์ตรงร่วมกับผู้อื่นทั้งในและนอกสถานศึกษา (5) (สมาน อัศวภูมิ 2554)

  10. ตัวบ่งชี้ที่ 4 ผู้เรียนคิดเป็น ทำเป็น (10 คะแนน) 4.1 ผู้เรียนมีความสามารถในการคิด (5) 4.2 ผู้เรียนมีความสามารถในการปรับตัวเข้ากับสังคม (5) (สมาน อัศวภูมิ 2554)

  11. ตัวบ่งชี้ที่ 5 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน (20 คะแนน) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในระดับชั้น ป. 3 ป. 6 ม. 3 และ ม.6 ตามที่เปิดสอน ในแต่ละกลุ่มสาระ (8 กลุ่มสาระ 8 ตัวบ่งชี้ย่อย (สมาน อัศวภูมิ 2554)

  12. ตัวบ่งชี้ที่ 6 ประสิทธิผลของการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ (10 คะแนน) 6.1 ประสิทธิผลการดำเนินงานของสถานศึกษา (5) 6.2 กระบวนการจัดการเรียนการสอนของครู (5) (สมาน อัศวภูมิ 2554)

  13. ตัวบ่งชี้ที่ 7 ประสิทธิภาพในการบริหารจัดการและพัฒนาสถานศึกษา (5 คะแนน) ใน 4 รายการ 1) ประสิทธิภาพการบริหารจัดการ 4 งาน( 2 ) 2)บรรยากาศและสภาพแวดล้อม (1)3) ประสิทธิภาพของคณะกรรมการสถานศึกษา (1) 4) ความยั่งยืนและต่อเนื่องของการบริหารจัดการและการพัฒนาสถานศึกษา (1) (สมาน อัศวภูมิ 2554)

  14. ตัวบ่งชี้ที่ 8 พัฒนาการของการประกันคุณภาพภายในโดยสถานศึกษาและต้นสังกัด (5 คะแนน) [ใช้ผลประเมินของระบบประกันคุณภาพภายในโดยต้นสังกัด] (สมาน อัศวภูมิ 2554)

  15. ตัวบ่งชี้ที่ 9 ผลการพัฒนาให้บรรลุตามปรัชญา ปณิธาน พันกิจ และวัตถุประสงค์ของการจัดตั้งสถานศึกษา (5 คะแนน) (สมาน อัศวภูมิ 2554)

  16. ตัวบ่งชี้ที่ 10 ผลการพัฒนาจุดเน้นและจุดเด่นที่ส่งผลสะท้อนเป็นเอกลักษณ์ของสถานศึกษา (5 คะแนน) (สมาน อัศวภูมิ 2554)

  17. ตัวบ่งชี้ที่ 11 ผลการดำเนินงานโครงการพิเศษเพื่อส่งเสริมบทบาทของสถานศึกษา (5 คะแนน) (สมาน อัศวภูมิ 2554)

  18. ตัวบ่งชี้ที่ 12 ผลการส่งเสริมสถานศึกษาเพื่อยกระดับมาตรฐาน รักษามาตรฐาน และพัฒนาสู่ความเป็นเลิศ (5 คะแนน) (สมาน อัศวภูมิ 2554)

  19. แนวการประเมิน • ประเมิน 3 แบบ คือ เชิงปริมาณ เชิงคุณภาพ และ คุณภาพ better • คะแนนเต็ม 100 คะแนน และมีวิธีประเมินเฉพาะตัวบ่งชี้ กรณีที่คะแนนประเมินต่างจากน้ำหนักคะแนนแต่ละตัวบ่งชี้ ให้ปรับคะแนนตามนำหนักคะแนน • มีการรับรอง ในภาพรวม (สมาน อัศวภูมิ 2554)

  20. กรณีที่ต้องมีการถ่วงนำหนักคะแนน หรือ ปรับคะแนนเป็น 5 ระดับ ให้เทียบบัญญัติไตรยางศ์ • คะแนนเต็ม 100 ได้ a • ถ้าเต็ม 1 ได้ a • 100 เต็ม b ได้ a X b • 100 (สมาน อัศวภูมิ 2554)

  21. ตัวบ่งชี้ที่ 1 ผู้เรียนมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี (10 คะแนน) 1.1 สุขภาพกาย (5) - ปริมาณ (4) ร้อยละของผู้เรียนที่มีส่วนสูง น้ำหนัก สมรรถภาพ เป็นไปตามเกณฑ์ และรู้จักดูแลตนเอง - คุณภาพ (1) ร้อยละ 90 ขึ้นไปต่อกัน 3 ปี หรือ ค่าเฉลี่ยของการพัฒนาถึงร้อยละ 15 หรือไม่ (สมาน อัศวภูมิ 2554)

  22. ตัวบ่งชี้ที่ 1 ผู้เรียนมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี (10 คะแนน) 1.2 สุขภาพจิต : ผู้เรียนมีสุนทรียภาพ (5) - ปริมาณ (2) ร้อยละของผู้เรียนที่เข้ารวมกิจกรรมด้านนี้ - คุณภาพ (3) ดูการดำเนินงานของสถานศึกษาด้านนี้ว่าทำได้กี่ข้อ ใน 3 ข้อ ทำได้กี่ข้อ ก็ได้เท่านั้นคะแนน (สมาน อัศวภูมิ 2554)

  23. ประเด็นในการพิจารณา 3 ข้อ คือ (สมาน อัศวภูมิ 2554) • 1.กำหนดนโยบายส่งเสริมด้านนี้ • 2. มีการดำเนินการตามวงจรคุณภาพ (PDCA) • 3. มีผลการประเมินความพึงพอใจของผู้เกี่ยวข้องได้ระดับดีขึ้นไป (3.51+)

  24. ตัวบ่งชี้ที่ 2 ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ (10 คะแนน) 2.1 เป็นลูกที่ดี (4) ปริมาณอย่างเดียว พิจารณาจาก ร้อยละของผู้เรียนที่ได้คะแนนเฉลี่ยระดับดี (3.51+) จากแบบประเมินของผู้ปกครอง (ต้องประสานให้ผู้ปกครองบันทึกประจำ) (สมาน อัศวภูมิ 2554)

  25. ประเมินใน 4 ด้าน คือ (1) ด้านบำรุง ดูแล กตัญญู (2) ช่วยทำกิจธุระ (3) สืบทอดรักษาวงศ์ตระกูล (4) ประพฤติตนให้เหมาะสมทำเป็นแบบประเมินให้ผู้ปกครองประเมิน 5 ระดับ มีเกณฑ์ ว่าในแต่ละสัปดาห์ทำกี่ครั้ง ถ้า ทำ 1 ครั้ง ได้ 1 (น้อย) ทำ 2 วัน ได้ 2 (ค่อนข้างน้อย) ทำ 3-4 วัน ได้ 3 (ปานกลาง) ทำ 5-6 วัน ได้ 4 (ค่อนข้างมาก) ทำทุกวัน ได้ 5 (มาก) หาค่าเฉลี่ยมา ถ้าได้ 3.51 ขึ้นๆ แปลว่าเป็นลูกที่ดี (สมาน อัศวภูมิ 2554)

  26. 2.2 เป็นผู้เรียนที่ดี (4) - ปริมาณ (2): ร้อยละเฉลี่ยของจำนวนผู้เรียนที่ (ก) ไม่ขาดเรียน มาสาย ไม่ออกกลางคัน กับ (ข) ไม่มีปัญหาด้านการปกครอง - คุณภาพ (2) เทียบเกณฑ์จากรายการประเมิน 9 รายการ (สมาน อัศวภูมิ 2554)

  27. รายการประเมิน (4-6 ได้ 1 มากกว่า 6 ได้ 2) 1. สุภาพ นอบน้อม 2. โอบอ้อมอารี ช่วยผู้อื่น 3. รับฟังความคิดเห็นผู้อื่น 4. ซื่อสัตย์สุจริต 5. มุ่งมานะในการเรียน 6. ดูแลรักษาสถานที่และสิ่งของส่วนรวมและส่วนตัว 7. อยู่อย่างพอเพียง 8. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ และความเป็นไทย 9. ยึดมั่นในวิถีชีวิตและการปกครองปัจจุบัน (สมาน อัศวภูมิ 2554)

  28. 2.3 บำเพ็ญประโยชน์ (2) ปริมาณอย่างเดียว โดยพิจารณาจาก ร้อยละของผู้เรียนที่ทำกิจกรรมบำเพ็ญประโยชน์ต่อสังคม ทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษา อย่างมีแผน และทำอย่างต่อเนื่อง (สมาน อัศวภูมิ 2554)

  29. ตัวบ่งชี้ที่ 3 ผู้เรียนมีความใฝ่รู้ และเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง (10 คะแนน) 3.1 ค้นคว้าหาความรู้ : ปริมาณอย่างเดียว (5) พิจารณาจากร้อยละของผู้เรียนที่บันทึกการเรียนรู้อย่างสม่ำเสมอ อย่างน้อย 1 ครั้ง/สัปดาห์ 3.2 เรียนรู้ผ่านประสบการณ์ตรง : ปริมาณอย่างเดียว (5) ร้อยละของผู้เรียนที่มีพฤติกรรมดังกล่าว (สมาน อัศวภูมิ 2554)

  30. ตัวบ่งชี้ที่ 4 ผู้เรียนคิดเป็น ทำเป็น (10 คะแนน) 4.1 ผู้เรียนมีความสามารถในการคิด : ปริมาณอย่างเดียว (5) พิจารณาจากร้อยละของผู้เรียนที่ผ่านเกณฑ์การประเมินความสามารถด้านการคิด ตามหลักสูตร 2551 4.2 ผู้เรียนมีความสามารถในการปรับตัวเข้ากับสังคม: ปริมาณอย่างเดียว (5) ร้อยละของผู้เรียนที่ผ่านการประเมินความสามารถในการปรับตัวเข้ากับสังคม ตามหลักสูตร 2551 (สมาน อัศวภูมิ 2554)

  31. ตัวบ่งชี้ที่ 5 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน (20 คะแนน) ร้อยละของผู้เรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน “ระดับดี” ในระดับชั้น ป. 3 ป. 6 ม. 3 และ ม.6 ตามที่เปิดสอน ในแต่ละกลุ่มสาระ (8 กลุ่ม สาระละ 2 คะแนน) และคะแนนจากพัฒนาการอีก กลุ่มสาระละ 0.5 คะแนน ซึ่งดูได้จากค่าเฉลี่ยของคะแนนผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียนที่ได้ระดับดีสูงขึ้นหรือไม่ [กรณีที่ประเมินหลัง ปี 2554] (สมาน อัศวภูมิ 2554)

  32. “ระดับดี” หมายถึง มีคะแนนผลการทดสอบ O-NET ของ สทศ. มากกว่าขีดจำกัดล่างของค่าเฉลี่ยในกลุ่มสาระการเรียนรู้นั้นๆ (เทียบระดับชาติ – อ้างอิง ดร. คมศร วงษ์รักษา รอง ผอ.สมศ.) ส่วนค่าเฉลี่ยสูงขึ้น หมายถึงค่าเฉลี่ยของผู้เรียนที่ได้คะแนนระดับดีในกลุ่มสาระนั้นๆ สูงขึ้นกว่าปีก่อนหรือไม่ คือ ถ้าสูงกว่า ได้ 0.5ถ้าเท่าเดิม ได้ 0.25 คะแนน (สมาน อัศวภูมิ 2554)

  33. (สมาน อัศวภูมิ 2554)

  34. ตัวบ่งชี้ที่ 6 ประสิทธิผลของการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ (10 คะแนน) 6.1 ประสิทธิผลการดำเนินงานของสถานศึกษา (5) ดูว่าทำได้กี่รายการ ก็ได้คะแนนเท่านั้น คือ 1. อบรม หรือให้ครูไปอบรม 1-2 ครั้ง/ปี 2. ประเมินแผนการจัดการเรียนรู้ 1/ภาคเรียน 3. ประเมินการจัดการเรียนการสอน 1/ภาคเรียน 4. ประเมินแบบวัด/ทดสอบของครูทุกคน ทุกภาค 5. นำผลฯ ไปใช้พัฒนาครูทุกคน อย่างเป็นระบบ (สมาน อัศวภูมิ 2554)

  35. ตัวบ่งชี้ที่ 6 ประสิทธิผลของการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ (10 คะแนน) 6.2 กระบวนการจัดการเรียนการสอนของครู (5) ดูร้อยละของครูที่มีประสิทธิภาพ (8 ข้อ) แล้ว เทียบเกณฑ์ดังนี้ 1. ต่ำกว่าร้อยละ 50 ได้ 1 คะแนน 2. 50-59 ได้ 2 3. 60-74 ได้ 3 4. 75-89 ได้ 4 5. 90 ขึ้นไป ได้ 5 (สมาน อัศวภูมิ 2554)

  36. ประสิทธิภาพ 8 รายการคือ 1. การกำหนดเป้าหมายที่ต้องการให้เกิดกับผู้เรียนด้านความรู้ ทักษะกระบวนการ และลักษณะที่พึงประสงค์ 2. การวิเคราะห์ผู้เรียนรายบุคคล 3. ออกแบบและจัดการเรียนรู้สนองความแตกต่างฯ 4. การจัดบรรยากาศที่เอื้อฯ และดูแลช่วยเหลือผู้เรียน 5. การจัดเตรียมและใช้สื่อ และนำภูมิปัญญามาใช้ 6. การประเมินความก้าวหน้าของผู้เรียน หลากหลาย 7. การวิเคราะห์และนำผลไปใช้ (ซ่อมเสริม-พัฒนา) 8. การศึกษาค้นคว้า วิจัย เพื่อพัฒนาสื่อและการจัดการเรียนรู้ (สมาน อัศวภูมิ 2554)

  37. ตัวบ่งชี้ที่ 7 ประสิทธิภาพในการบริหารจัดการและพัฒนาสถานศึกษา (5 คะแนน) ประเมินเชิงคุณภาพ ว่า สถานศึกษาบริหารตามหลัก SBM และ Good Governance หรือไม่ใน 4 รายการ 1) ประสิทธิภาพการบริหารจัดการ 2) บรรยากาศและสภาพแวดล้อม 3) ประสิทธิภาพของคณะกรรมการสถานศึกษา 4. ความยั่งยืนและต่อเนื่อง (สมาน อัศวภูมิ 2554)

  38. 1) สิทธิภาพการบริหารงานทั้ง 4 ด้าน (2) วิชาการ 17 ข้อ งบประมาณ 22 ข้อ บุคคล 20 ข้อ ทั่วไป 21 ข้อ แต่ละด้านได้ร้อยละ 90+ ได้ 2 คะแนน 80-89 ได้ 1.5 70-79 ได้ 160-69 ได้ 0.5 ต่ำกว่านี้ไม่ได้คะแนน (สมาน อัศวภูมิ 2554)

  39. 2) บรรยากาศและสภาพแวดล้อม (1) ดู ก. มีความสะอาด ถูกสุขลักษณะ ข. มีความปลอดภัย ค. มีความสวยงาม 1 ข้อ 0.25 2 ข้อ 0.5 3 ข้อ ได้ 1 คะแนน (สมาน อัศวภูมิ 2554)

  40. 3) สิทธิภาพของคณะกรรมการสถานศึกษา (1) ดูว่าคณะกรรมการทำตามข้อกำหนด 14 ข้อได้มากน้อยเพียงใด 14 ข้อ ได้คะแนนประเมิน 5 12-13 ข้อ ได้ 4 10-11 ข้อ ได้ 38-9 ข้อ ได้ 2 ต่ำกว่านี้ ได้ 1 แล้วเทียบคะแนนข้างบนให้ เป็น 1 คะแนน (สมาน อัศวภูมิ 2554)

  41. 4) ความยั่งยืนต่อเนื่อง (1) บริหารและพัฒนาได้ต่อเนื่อง ผู้เกี่ยวข้องมีส่วน ให้ดูว่าทำ 3 ข้อข้างต้นได้กี่ข้อ ได้ทั้ง 3 ข้อ ได้ 1 คะแนน ได้ 2 ข้อ ได้ 0.5 คะแนน ได้ 1 ข้อ ได้ 0.25 คะแนน (สมาน อัศวภูมิ 2554)

  42. ตัวบ่งชี้ที่ 8 พัฒนาการของการประกันคุณภาพภายในโดยสถานศึกษาและต้นสังกัด (5 คะแนน) ใช้ผลประเมินของระบบประกันคุณภาพภายในโดยต้นสังกัด ประเมินปี 54 ใช้คะแนนประเมินต้นสังกัดเลย ส่วนประเมินปีถัดไป ให้ประเมินดังนี้ ปริมาณ (2.5) ใช้คะแนนเฉลี่ยของผลการประเมินของต้นสังกัด (ดูเกณฑ์ในเฟรมถัดไป) พัฒนาการ (2.5) ใช้คะแนนประเมินย้อนหลัง 2 หรือ 3 ปี ถ้าเท่าเดิมได้ 1 ถ้าสูงขึ้นได้ 2 แล้วค่อยปรับคะแนนให้เป็น 2.5 (สมาน อัศวภูมิ 2554)

  43. เกณฑ์เชิงปริมาณของตัวบ่งชี้ที่ 8 เป็นดังนี้ ต่ำกว่า 1.51 ได้ 1 คะแนน 1.51-2.50 ได้ 2 2.51-3.50 ได้ 3 3.51-4-50 ได้ 4 4.51 ขึ้นไป ได้ 5 แล้วนำคะแนนที่ได้มาเทียบเป็น 2.5 (สมาน อัศวภูมิ 2554)

  44. ตัวบ่งชี้ที่ 9 ผลการพัฒนาให้บรรลุตามปรัชญา ปณิธาน พันกิจ และวัตถุประสงค์ของการจัดตั้งสถานศึกษา (5 คะแนน) ประเมินเชิงคุณภาพจากรายการต่อไปนี้ (ได้กี่ข้อ ก็ได้คะแนนเท่านั้น) 1. ทุกฝ่ายมีส่วนร่วมในการทำแผน และคณะกรรมการสถานศึกษา เห็นชอบ 2. มีการสร้างระบบการมีส่วนร่วมของผู้เรียน 3. มีการประเมินความพึงพอใจ และได้ระดับดี ร้อยละ 80 ขึ้นไป 4. ผลการดำเนินงานบรรลุและเกิดผลต่อชุมชน 5. ผู้มีเรียนคุณลักษณะตามที่กำหนด (ปรัชญาฯ) (สมาน อัศวภูมิ 2554)

  45. ตัวบ่งชี้ที่ 10 ผลการพัฒนาจุดเน้นและจุดเด่นที่ส่งผลสะท้อนเป็นเอกลักษณ์ของสถานศึกษา (5 คะแนน) ประเมินเชิงคุณภาพจากรายการต่อไปนี้ (ได้กี่ข้อ ก็ได้คะแนนเท่านั้น) 1. ทุกฝ่ายมีส่วนร่วมในการกำหนดจุดเน้น และคณะกรรมการสถานศึกษา เห็นชอบ 2. มีการสร้างระบบการมีส่วนร่วมของผู้เรียนและบุคลากร และอย่างน้อย ร้อยละ 50 ให้ความร่วมมือ 3. มีการประเมินความพึงพอใจ ได้ระดับดี ร้อยละ 80 -ขึ้นไป 4. ผลการดำเนินงานบรรลุจุดเน้นและเกิดผลต่อชุมชน 5. ผู้มีเรียนคุณลักษณะตามที่กำหนด (จุดเด่น จุดเน้น) (สมาน อัศวภูมิ 2554)

  46. ตัวบ่งชี้ที่ 11 ผลการดำเนินงานโครงการพิเศษเพื่อส่งเสริมบทบาทของสถานศึกษา (5 คะแนน) ประเมินเชิงคุณภาพ (2) และเชิงพัฒนาการ (Better) (3) เชิงคุณภาพ ดูว่าทำได้กี่ข้อจาก 5 รายการ 1. โครงการพิเศษอย่างน้อย 2/ ปีการศึกษา 2. ดำเนินการตามวงจรคุณภาพ (PDCA)3. บรรลุตามแผนไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 4. ผู้เรียนมีส่วนร่วมในโครงการพิเศษ 5. เกิดประโยชน์ เกิดแบบอย่าง และมีคุณค่าต่อสถานศึกษา และ/หรือชุมชนรอบสถานศึกษา (สมาน อัศวภูมิ 2554)

  47. ประเมิน เชิงพัฒนาการ (Better) ดูว่าทำได้กี่ข้อจาก 3 รายการ (ทำได้กี่ข้อ ก็ได้คะแนนเท่านั้น) 1. ร้อยละ 50-75 ของจำนวนโครงการส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลง การแก้ปัญหา ทั้งในและนอกสถานศึกษา นำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ 2. ร้อยละ 75 ขึ้นไปของโครงการส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลง 3. สถานศึกษาเป็นแบบอย่างที่ดีขึ้นในการแก้ปัญหา รวมทั้งนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการบริหาร การจัดทำหลักสูตร และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน บุคลากร (สมาน อัศวภูมิ 2554)

  48. ตัวบ่งชี้ที่ 12 ผลการส่งเสริมสถานศึกษาเพื่อยกระดับมาตรฐาน รักษามาตรฐาน และพัฒนาสู่ความเป็นเลิศ (5 คะแนน) ประเมินเชิงคุณภาพ ตามกลุ่มสถานศึกษา 1) กลุ่มที่ยังไม่รับรอง (จะต้องพัฒนาเข้าสู่มาตรฐาน) 2) กลุ่มรับรองระดับดี (จะยกระดับให้สูงขึ้น) 3) กลุ่มรับรองดีมาก (ให้รักษาสภาพ หรือทำให้เลิศยิ่งขึ้น) (สมาน อัศวภูมิ 2554)

  49. เกณฑ์การพิจารณา 5 ข้อ ทำได้กี่ข้อ ก็ได้คะแนนเท่านั้น 1. มีแผนรองรับข้อเสนอแนะจากรอบ 2 2. มีข้อตกลงรวมระหว่างสถานศึกษากับต้นสังกัด หน่วยงานอื่นทีสนับสนุน 3. มีการดำเนินการตามวงจรคุณภาพ (PDCA) 4. ผลการดำเนินงานบรรลุไม่น้อยกว่าร้อยละ 805. มีผลกระทบที่เกิดขึ้นตามกลุ่มของสถานศึกษา ตามกลุ่มที่จัดไว้ข้างต้น (สมาน อัศวภูมิ 2554)

  50. การรับรองมาตรฐานคุณภาพของสถานศึกษาการรับรองมาตรฐานคุณภาพของสถานศึกษา • คะแนนรวม ๘๐.๐๐ ขึ้นไป • ตัวบ่งชี้อย่างน้อย ๑๐ ตัว มีคุณภาพระดับดีขึ้นไป • ไม่มีตัวบ่งชี้ใด “ควรปรับปรุง หรือต้องปรับปรุง” (สมาน อัศวภูมิ 2554)

More Related