1 / 27

แผนปฏิบัติการส่งเสริม SMEs พ.ศ. 2550-2554

แผนปฏิบัติการส่งเสริม SMEs พ.ศ. 2550-2554. “การจัดทำแผนปฏิบัติการส่งเสริม SMEs ปีงบประมาณ 2550-2554”. สำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม. ขั้นตอนการจัดทำแผนปฏิบัติการ ส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม 2550-2554.

Download Presentation

แผนปฏิบัติการส่งเสริม SMEs พ.ศ. 2550-2554

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. แผนปฏิบัติการส่งเสริม SMEs พ.ศ. 2550-2554 “การจัดทำแผนปฏิบัติการส่งเสริม SMEs ปีงบประมาณ 2550-2554” สำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม

  2. ขั้นตอนการจัดทำแผนปฏิบัติการส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม 2550-2554 แผนการส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2550-2554) แผนปฏิบัติการส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม พ.ศ. 2550-2554 คณะกรรมการบริหารสำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม การประชุมเชิงปฏิบัติการการจัดทำโครงการภายใต้แผนปฏิบัติการส่งเสริม SMEs พ.ศ. 2550-2554 (หน่วยงานภาครัฐและเอกชน) (ก.ย. - ต.ค.) คณะกรรมการส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (ก.ย.- ต.ค.) ประกาศในราชกิจจานุเบกษา (ต.ค.- พ.ย.) หน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชนพิจารณาเสนอโครงการตามแบบฟอร์มที่กำหนดมายัง สสว. (ต.ค.) คณะทำงาน/ คณะกรรมการพิจารณา กลั่นกรองโครงการ (พ.ย. – ธ.ค.) สสว. รวบรวมจัดทำคำขอเสนอ (ก.พ. – มี.ค.) 2

  3. 6 หน่วยงานรับผิดชอบแผนปฏิบัติการส่งเสริม SMEs พ.ศ. 2550-2554 1 2 4 5 3 การเพิ่ม ผลิตภาพและขีดความสามารถนวัตกรรมของ SMEsในภาคการผลิต การเพิ่มประสิทธิภาพและลดผลกระทบในภาคการค้า การสร้างและพัฒนาขีดความสามารถ ผปก. การส่งเสริม SMEs ในภูมิภาคและท้องถิ่น การส่งเสริมขีดความสามารถในการสร้างมูลค่าเพิ่มของภาคบริการ อก./ พณ./ สอท./ สพว./ ธพว./ สมาคมและสถาบันการ ศึกษาต่างๆ อก./ วว./ สธ./ /กษ./ รง./ สอท./ สถาบันเฉพาะทาง/ สถาบัน การศึกษาและสมาคมต่างๆ พณ./สภาหอการค้าฯ/ สถาบันการศึกษาและสมาคมต่างๆ อก./ สธ./ สพว./ สภาอุตฯ ท่องเที่ยว/ สมาคมต่างๆ คณะกรรมการส่งเสริม SMEs ระดับจังหวัด/ อก./ มท./ สอท./ หอการค้าฯ การพัฒนาปัจจัยเอื้อในการดำเนินธุรกิจ วท./ สวทช./ สกว./ SIPA/ สนช. สพว./ สถาบันการศึกษาต่างๆ/ ก.แรงงาน สอท./ สพว./อก./ พณ./ สพว./สภาอุตฯท่องเที่ยว สถาบันการ ศึกษาต่างๆ สอท./ ธพว./กองทุนร่วมลงทุน/ สถาบันการเงินต่างๆ พณ./ อก. สอท./ อก./ สมาพันธ์โลจิสติกส์ไทย กรอ./ การนิคมฯ/สอท. อก./รง. / พณ./สพท. 3

  4. ผลการส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมตามแผนการส่งเสริม SMEs ฉบับที่ 1 (พ.ศ.2545-2549) 4

  5. ปัญหา และอุปสรรคของ SMEs การเข้าสู่ระบบตลาดของ ปท. ต้นทุนต่ำ (แย่งตลาด , FDI, OEM) สินค้าส่งออกของ SMEs มีมูลค่าเพิ่มต่ำ (Primary & Labor-intensive) GDPSMEs ภาคการค้าชะลอตัวลง จาก 31% เหลือ 29% ระดับมหภาค ความตื่นตัว/ความสามารถของ ผปก.ต่ำ / ทำธุรกิจไม่เป็นระบบ / ไม่เป็นมืออาชีพ ความสามารถทางเทคโนโลยี นวัตกรรม การสร้าง IP ต่ำ ความตื่นตัว และความสามารถด้านธรรมาภิบาล (ระบบบัญชี ความรับผิดชอบต่อสังคม สิ่งแวดล้อม ผู้บริโภค) คุณภาพบุคลากรต่ำ มีการโยกย้ายงานสูง ขาดความรู้ ทักษะ กำลังทุนในการทำตลาด ระดับธุรกิจ 5

  6. ปัญหา อุปสรรค SMEs ไทยนำไปสู่ความสามารถด้านผลิตภาพและนวัตกรรมที่ต่ำ ส/ช ไม่พอ เข้าไม่ถึง ตลาดทุน กฎระเบียบ เป็นอุปสรรค ขาดธรรมาภิบาล ขาดความรู้ ความเข้าใจ ปัจจัยเอื้อ ผปก. SMEs T&I&IP HRD ขาด กำลังทุน ในการ ทำธุรกิจ ระบบ จัดการ ภาครัฐ ขาดจิตสำนึก ความตื่นตัว ข้อมูล ต้นทุน โลจิสติกส์ สูง ขาด Facility - โอกาสตลาด ขาดความเชื่อมโยงทางธุรกิจ ผลิตภาพต่ำ T&I&IP ต่ำ ผลิต ส/ค บริการมูลค่าต่ำ ผลกระทบ ภายนอก ผลกระทบ ภายนอก SMEs บางสาขา (การค้า) หดตัว 6

  7. วิสัยทัศน์: SMEs มีการเติบโตอย่างต่อเนื่องยั่งยืน / แข็งแกร่ง / สมดุล R & D / Innovation / Productivity การเติบโตในเชิงคุณภาพ Dynamic & Knowledge-based Enterprises หลักเศรษฐกิจ พอเพียง SMEs ธรรมาภิบาล ผลิตภาพ นวัตกรรม การเติบโตในเชิงขนาด/คุณภาพ ความรู้ - เทคโนโลยี - นวัตกรรม MEs LEs Micro SEs ใช้ระบบ - R&D , I , T การประหยัดต่อขนาด ใช้ทักษะ ฝีมือ 7

  8. 6 ยุทธศาสตร์การส่งเสริมตามแผนการส่งเสริม SMEs ฉบับที่ 2 (2550-2554) SMEs มีการเติบโตอย่างต่อเนื่อง /แข็งแกร่ง / ยั่งยืน โดยใช้ความรู้ ทักษะ ฝีมือ Dynamic & KB SMEs Productivity & Innovation 1 2 3 4 5 การเพิ่ม ผลิตภาพและขีดความสามารถนวัตกรรมของ SMEsในภาคการผลิต การเพิ่มประสิทธิภาพและลดผลกระทบในภาคการค้า การส่งเสริมขีดความสามารถในการสร้างมูลค่าเพิ่มของภาคบริการ การส่งเสริม SMEs ในภูมิภาคและท้องถิ่น การสร้างและพัฒนาขีดความสามารถ ผปก. การพัฒนาปัจจัยเอื้อในการดำเนินธุรกิจ เศรษฐกิจพอเพียง / ธรรมาภิบาล 8

  9. แผนการส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2550-2554) ตัวชี้วัดและเป้าหมายการส่งเสริม SMEs ตัวชี้วัดการส่งเสริม SMEs เป้าหมายปี 2550 -2554 1. • GDP ของ SMEs เพิ่มขึ้นจนมี • สัดส่วนเป็น 42% ในปี 2554 (ขยายตัว 7.2% ต่อปี) • ภาคการผลิต มีการขยายตัวปีละ 10% • ภาคการค้า ขยายตัวปีละ 5% • ภาคการบริการ ขยายตัวปีละ 15% 1. มูลค่าผลผลิต (GDP) ของ SMEs ขยายตัวอย่างต่อเนื่อง 2. อัตราการขยายตัวการส่งออกของ SMEs ไม่ต่ำกว่าอัตราการขยายตัวของส่งออกรวม 2. การส่งออกของ SMEs 3. - TFP ของ SMEs ขยายตัวไม่น้อยกว่า 3% ต่อปี - TFP ของสาขาเป้าหมายขยายตัวไม่ต่ำกว่า 5% ต่อปี - ผลิตภาพแรงงาน SMEs ขยายตัวไม่ต่ำกว่า 5% ต่อปี 3. การเพิ่มผลิตภาพรวม (TFP) และผลิตภาพแรงงานของ SMEs 9

  10. แผนการส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2550-2554) SMEs เป้าหมาย 1. ภาคการผลิต 3. ภาคบริการ 2. ภาคการค้า 1.1 กลุ่มอุตสาหกรรมดั้งเดิม (Indigenous) - อุต.เบา: สิ่งทอ รองเท้า อัญมณี/เครื่องประดับ สิ่งพิมพ์ บรรจุภัณฑ์ - อุต.วิศวการ: โลหการ เครื่องจักรกล แม่พิมพ์ เครื่องใช้ ไฟฟ้า/อิเล็กทรอนิกส์ ชิ้นส่วนยานยนต์ - อุต.ที่ใช้ทรัพยากร: อาหาร ยา สมุนไพร เฟอร์นิเจอร์ ไม้ ผลิตภัณฑ์ยาง และผลิตภัณฑ์เซรามิกส์ ของขวัญของชำร่วย และของตกแต่งบ้าน 1.2 กลุ่มอุตสาหกรรมใหม่ (New wave) - ผลิตภัณฑ์ที่ไต่ระดับห่วงโซ่คุณค่า (Value Chain) ในกลุ่ม อุต.ดั้งเดิม - ผลิตภัณฑ์ที่มีลู่ทางใหม่ๆ เช่น พลังงานทดแทน อุปกรณ์ประหยัดพลังาน 2.1 ค้าปลีก 2.2 ค้าส่ง 2.3 Trading firm 3.1 กลุ่มบริการท่องเที่ยวและธุรกิจ ต่อเนื่อง: โรงแรมที่พัก ร้านอาหาร ร้าน ขายของที่ระลึก ธุรกิจขนส่งนักท่องเที่ยว สปา ธุรกิจที่เกี่ยวเนื่องกับการ จัดประชุม นิทรรศการ ( MICE) เป็นต้น 3.2 กลุ่มบริการอื่นๆ : สารสนเทศและ ซอฟต์แวร์ รวมทั้ง Digital Content ที่ปรึกษาและสนับสนุนธุรกิจ สุขภาพและความงาม ออกแบบ-ก่อสร้าง โลจิสติกส์ การศึกษา และธุรกิจบันเทิง 4. ภูมิภาคและท้องถิ่น 4.1 สาขาการผลิต การค้า บริการ 4.2 ผลิตภัณฑ์และ บริการชุมชน/ท้องถิ่น 10

  11. กระบวนการแปลงแผนแม่บทสู่แผนปฏิบัติการส่งเสริม SMEs ปี 2550-2554 แผนแม่บทการส่งเสริม SMEs ปี 2550-2554 แผนปฏิบัติการส่งเสริม SMEs ปี 2550-2554 ยุทธศาสตร์ที่ 6ปัจจัยเอื้อ ยุทธศาสตร์ที่ 5ภูมิภาค&ท้องถิ่น ยุทธศาสตร์ที่ 1 ผปก.-กิจการ ภาคการผลิตเป้าหมาย การติดตามประเมินผล ยุทธศาสตร์ 2 เพิ่มผลิตภาพ/ นวัตกรรม ภาคการผลิต องค์ความรู้/ข้อมูลข่าวสาร New Wave ดั้งเดิม งบฯ ภาคการค้าเป้าหมาย แผนงาน /โครงการ ยุทธศาสตร์ 3 เพิ่มประสิทธิภาพ ภาคการค้า ค้าปลีก ค้าส่ง Trading Firm นอกกองทุน SMEs กองทุน SMEs บริการเป้าหมาย ท่องเที่ยว / ธุรกิจ ต่อเนื่อง อื่นๆ ยุทธศาสตร์ 4 เพิ่มคุณค่าและ มูลค่าเพิ่ม ภาคบริการ งบฯ SMEs ในภูมิภาคและท้องถิ่น สิ่งอำนวยความสะดวก 11

  12. ยุทธศาสตร์ที่ 1: การสร้างและพัฒนาผู้ประกอบการ (Entrepreneur Development) ทิศทาง เสริมสร้างขีดความสามารถ ผปก. ใหม่ และ ผปก. เดิม ในการผลิตสินค้าที่แข่งขันได้ (ใช้ฐานความรู้ ทักษะฝีมือ และนวัตกรรมดำเนินธุรกิจ) โดยการสร้างคุณค่าและเน้นการตอบสนองความต้องการของตลาดในระดับกลางขึ้นไป เป้าหมาย 1. มี ผปก. ใหม่เกิดขึ้น 40,000 ราย/ ปี 2. ผปก. ใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีสมัยใหม่เพิ่มขึ้นในอัตราที่สูงขึ้นทุกปี 3. SMEs จดทะเบียนหรือเข้าสู่ระบบมากขึ้น กลุ่มเป้าหมายยุทธศาสตร์: SMEs ในสาขาอุตสาหกรรม การค้า และบริการ 12

  13. ยุทธศาสตร์ที่ 2: การเพิ่มผลิตภาพและความสามารถทางนวัตกรรมของ SMEs ในภาคการผลิต ทิศทาง เพิ่มมูลค่าเพิ่ม ความแตกต่าง และความสามารถในการแข่งขันของสินค้าอุตสาหกรรม และพัฒนาโครงสร้างการผลิตจากผู้รับจ้างผลิต (OEM) ไปเป็นผู้สามารถออกแบบ(ODM) และเป็นผู้สร้างตรายี่ห้อ (OBM) เป้าหมาย 1. SMEs ภาคการผลิตมี TFP สูงขึ้นร้อยละ 3/ ปี 2. ภาคการผลิตพัฒนาไปสู่การสร้างแบรนด์ 100แบรนด์ ภายในปี 2554 กลุ่มเป้าหมายยุทธศาสตร์: 1.กลุ่มอุตสาหกรรมดั้งเดิม (Indigenous): อุตสาหกรรมเบา/ อุตสาหกรรมวิศวการ/ อุตสาหกรรมที่ใช้ทรัพยากร 2.กลุ่มอุตสาหกรรมใหม่ (New wave): ผลิตภัณฑ์ที่ไต่ระดับห่วงโซ่คุณค่า (Value Chain) ในกลุ่มอุตสาหกรรมดั้งเดิม/ ผลิตภัณฑ์ที่มีลู่ทางใหม่ๆเช่น พลังงานทดแทน 13

  14. ยุทธศาสตร์ที่ 3: การเพิ่มประสิทธิภาพและลดผลกระทบในภาคการค้า ทิศทาง เพิ่มประสิทธิภาพในการดำเนินธุรกิจที่สอดคล้องกับแนวโน้มพฤติกรรมผู้บริโภคสมัยใหม่และลดผลกระทบที่เกิดจากการแข่งขันกับธุรกิจการค้าสมัยใหม่ ขนาดใหญ่ (Modern Trade) เป้าหมาย 1. SMEs ภาคการค้ามี TFP สูงขึ้นร้อยละ 1 ต่อปี 2. SMEs ได้รับการแก้ปัญหาทางการค้าอย่างเป็นธรรมอย่างน้อย 2,500 เรื่อง/ปี กลุ่มเป้าหมายยุทธศาสตร์: 1. SMEs ภาคการค้าส่ง 2. SMEs ภาคการค้าปลีก 3. Trading Firm 14

  15. ยุทธศาสตร์ที่ 4: การส่งเสริมภาคบริการในการสร้างคุณค่าและมูลค่าเพิ่ม ทิศทาง สนับสนุนการใช้องค์ความรู้ วัฒนธรรมไทย ภูมิปัญญาไทย และเทคโนโลยี โดยเฉพาะ ICT ในการสร้างคุณค่าและมูลค่าเพิ่ม รวมทั้งสร้างความเชื่อมโยงระหว่าง SMEs ภาคบริการกับธุรกิจขนาดใหญ่ เป้าหมาย 1. SMEs ภาคการบริการมี TFP สูงขึ้นร้อยละ 2 ต่อปี 2. การสร้างระบบมาตรฐานในสาขาภาคบริการ 3 สาขา กลุ่มเป้าหมายยุทธศาสตร์: 1. กลุ่มบริการท่องเที่ยวและธุรกิจต่อเนื่อง : โรงแรมที่พัก ร้านอาหาร ร้านขายของที่ระลึก ธุรกิจขนส่งนักท่องเที่ยว สปา ธุรกิจที่เกี่ยวเนื่องกับการ จัดประชุม นิทรรศการ ( MICE) เป็นต้น 2. กลุ่มบริการอื่นๆ : สารสนเทศและซอฟต์แวร์ รวมทั้ง Digital Content ที่ปรึกษาและสนับสนุนธุรกิจ สุขภาพและความงาม ออกแบบ-ก่อสร้าง โลจิสติกส์ ธุรกิจบันเทิง และการศึกษา 15

  16. ยุทธศาสตร์ที่ 5: การส่งเสริม SMEs ในภูมิภาคและท้องถิ่น ทิศทาง ส่งเสริมให้เกิดเครือข่ายและความเชื่อมโยงธุรกิจของ SMEs ในภูมิภาค และพัฒนาศักยภาพการผลิตและการบริหารจัดการธุรกิจ โดยใช้เทคโนโลยี วัฒนธรรม และภูมิปัญญาไทย เพื่อสร้างคุณค่าและยกระดับคุณภาพสินค้าและบริการของวิสาหกิจในภูมิภาคและชุมชน ให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาด เป้าหมาย 1. มีการเริ่มต้นพัฒนาเครือข่ายอย่างน้อย 66 คลัสเตอร์ 2. มีแผนปฏิบัติการฯ ระดับจังหวัดทั่วประเทศ 75 แผน 3. ยอดจำหน่ายสินค้าและบริการ OTOP เพิ่มไม่ต่ำกว่า 5,000 ลบ./ ปี กลุ่มเป้าหมายยุทธศาสตร์: 1. SMEs สาขาการผลิต การค้า บริการ 2. ผลิตภัณฑ์และบริการชุมชน/ ท้องถิ่น 16

  17. ยุทธศาสตร์ที่ 6: การพัฒนาปัจจัยเอื้อในการดำเนินธุรกิจสำหรับ SMEs ทิศทาง พัฒนาสภาพแวดล้อม สิ่งอำนวยความสะดวก และโครงสร้างพื้นฐานที่เป็นปัจจัยเอื้อในการดำเนินธุรกิจของ SMEs เพื่อมุ่งยกระดับผลิตภาพ และความสามารถทางนวัตกรรม รวมทั้งเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันให้สูงยิ่งขึ้น และสนับสนุนการปรับตัวไปสู่กิจการที่ใช้ฐานความรู้และมีพลวัตสูง เป้าหมาย 1. มีฐานข้อมูล SMEs ครบถ้วน ทันสมัย สมบูรณ์ สอดคล้องกับความต้องการของธุรกิจ 2. SMEs มีการจดทะเบียนทรัพย์สินทางปัญญาเพิ่มขึ้น 3. การบริหารจัดการโลจิสติกส์ของ SMEs ยกระดับไปสู่ระดับ World Class 100 ราย 4. กฎระเบียบที่มีอยู่ได้รับการทบทวน ปรับปรุง และออกกฎระเบียบใหม่ที่เอื้อต่อการประกอบการของ SMEs อย่างน้อย 10 เรื่อง 5. ผู้ประกอบการ SMEs มีพื้นที่สำหรับการประกอบธุรกิจเพิ่มขึ้น รวมทั้งมีการจัดสิ่งอำนวยความสะดวกต่างๆ เพื่อเอื้อให้ผู้ประกอบการดำเนินธุรกิจได้อย่างน้อย 10 แห่ง 6. นวัตกรรมที่พัฒนาโดย SMEs มีจำนวนเพิ่มขึ้น 100 ราย 7. ช่องทางการตลาดรูปแบบใหม่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องร้อยละ 10 8. จำนวนบุคลากรของ SMEs ใช้ฐานความรู้พัฒนาทักษะฝีมือสูงขึ้นร้อยละ 10 ของบุคลากร กลุ่มเป้าหมายยุทธศาสตร์: SMEs สาขาอุตสาหกรรม การค้า และบริการ 17

  18. การจัดทำโครงการที่สอดรับกับแผนงานในแต่ละกลยุทธ์ภายใต้ยุทธศาสตร์ที่ 4 18

  19. 1 • พัฒนาบุคลากรภาคบริการ • เสริมสร้างองค์ความรู้ทางธุรกิจ • พัฒนาบุคลากรและสร้างความเป็นผู้ประกอบการ ยุทธศาสตร์ที่ 4:การส่งเสริมภาคบริการในการสร้างคุณค่าและมูลค่าเพิ่ม ทิศทาง:สนับสนุนการใช้องค์ความรู้ วัฒนธรรมไทย ภูมิปัญญาไทย และเทคโนโลยี โดยเฉพาะ ICT ในการสร้างคุณค่าและมูลค่าเพิ่ม รวมทั้งสร้างความเชื่อมโยงระหว่าง SMEs ภาคบริการกับธุรกิจขนาดใหญ่ เป้าหมาย: 1. SMEs ภาคการบริการมี TFP สูงขึ้นร้อยละ 2 ต่อปี 2. การสร้างระบบมาตรฐานในสาขาภาคบริการ 3 สาขา • กลุ่มบริการท่องเที่ยวและธุรกิจต่อเนื่อง : โรงแรมที่พัก ร้านอาหาร ร้านขายของที่ระลึก ธุรกิจขนส่งนักท่องเที่ยว สปา ธุรกิจที่เกี่ยวเนื่องกับการ จัดประชุม นิทรรศการ ( MICE) เป็นต้น • กลุ่มบริการอื่นๆ : สารสนเทศและซอฟต์แวร์ รวมทั้ง Digital Content ที่ปรึกษาและสนับสนุนธุรกิจ สุขภาพและความงาม ออกแบบ-ก่อสร้าง โลจิสติกส์ ธุรกิจบันเทิง และการศึกษา กลุ่มเป้าหมาย กลยุทธ์ / แผนงาน 3 • พัฒนาศักยภาพในการแข่งขัน • ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยี ICT เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพงานภาคบริการ • ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมในธุรกิจบริการ • เพิ่มประสิทธิภาพการจัดการภาคบริการ • ส่งเสริมการสร้างตราสินค้า (Brand) ในสาขาบริการ ที่มีศักยภาพ 2 • สร้างระบบความเชื่อมโยงและเครือข่ายภาคบริการที่มีศักยภาพ • ส่งเสริมการรวมกลุ่มเครือข่ายพันธมิตร • ส่งเสริมการสร้างพันธมิตรและเชื่อมโยงภาคบริการ 4 • เร่งรัดการเพิ่มประสิทธิภาพ ผลิตภาพ • และคุณภาพมาตรฐานของผลิตภัณฑ์ภาคบริการ • เสริมสร้างการเข้าสู่บริการสาขาเป้าหมาย • จัดทำและให้บริการด้านข้อมูลข่าวสารภาคบริการ • บูรณาการงานส่งเสริมภาคบริการ 19

  20. กลยุทธ์ แผนงาน โครงการภายใต้แผนปฏิบัติการปี 2550-2551ยุทธศาสตร์ที่ 4: การส่งเสริมภาคบริการในการสร้างคุณค่าและมูลค่าเพิ่ม โครงการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2550 โครงการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2551 โครงการ ปี 2552-2554 ผลผลิต กลยุทธ์ที่ 1: พัฒนาบุคลากรภาคบริการ 20

  21. กลยุทธ์ แผนงาน โครงการภายใต้แผนปฏิบัติการปี 2550-2551ยุทธศาสตร์ที่ 4: การส่งเสริมภาคบริการในการสร้างคุณค่าและมูลค่าเพิ่ม (ต่อ) โครงการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2550 โครงการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2551 โครงการ ปี 2552-2554 ผลผลิต กลยุทธ์ที่ 2: สร้างระบบความเชื่อมโยงและเครือข่ายภาคบริการที่มีศักยภาพ 21

  22. กลยุทธ์ แผนงาน โครงการภายใต้แผนปฏิบัติการปี 2550-2551ยุทธศาสตร์ที่ 4: การส่งเสริมภาคบริการในการสร้างคุณค่าและมูลค่าเพิ่ม (ต่อ) โครงการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2550 โครงการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2551 โครงการ ปี 2552-2554 ผลผลิต กลยุทธ์ที่ 2: สร้างระบบความเชื่อมโยงและเครือข่ายภาคบริการที่มีศักยภาพ (ต่อ) 22

  23. กลยุทธ์ แผนงาน โครงการภายใต้แผนปฏิบัติการปี 2550-2551ยุทธศาสตร์ที่ 4: การส่งเสริมภาคบริการในการสร้างคุณค่าและมูลค่าเพิ่ม (ต่อ) โครงการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2550 โครงการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2551 โครงการ ปี 2552-2554 ผลผลิต กลยุทธ์ที่ 3: พัฒนาศักยภาพในการแข่งขัน 23

  24. กลยุทธ์ แผนงาน โครงการภายใต้แผนปฏิบัติการปี 2550-2551ยุทธศาสตร์ที่ 4: การส่งเสริมภาคบริการในการสร้างคุณค่าและมูลค่าเพิ่ม (ต่อ) โครงการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2550 โครงการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2551 โครงการ ปี 2552-2554 ผลผลิต กลยุทธ์ที่ 3: พัฒนาศักยภาพในการแข่งขัน (ต่อ) 24

  25. กลยุทธ์ แผนงาน โครงการภายใต้แผนปฏิบัติการปี 2550-2551ยุทธศาสตร์ที่ 4: การส่งเสริมภาคบริการในการสร้างคุณค่าและมูลค่าเพิ่ม (ต่อ) โครงการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2550 โครงการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2551 โครงการ ปี 2552-2554 ผลผลิต กลยุทธ์ที่ 3: พัฒนาศักยภาพในการแข่งขัน (ต่อ) กลยุทธ์ที่ 4: เร่งรัดการเพิ่มประสิทธิภาพ ผลิตภาพ และคุณภาพมาตรฐานของผลิตภัณฑ์ภาคบริการ 25

  26. กลยุทธ์ แผนงาน โครงการภายใต้แผนปฏิบัติการปี 2550-2551ยุทธศาสตร์ที่ 4: การส่งเสริมภาคบริการในการสร้างคุณค่าและมูลค่าเพิ่ม (ต่อ) โครงการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2550 โครงการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2551 โครงการ ปี 2552-2554 ผลผลิต กลยุทธ์ที่ 4: เร่งรัดการเพิ่มประสิทธิภาพ ผลิตภาพ และคุณภาพมาตรฐานของผลิตภัณฑ์ภาคบริการ (ต่อ) 26

  27. ขอบคุณและสวัสดี

More Related