70 likes | 171 Views
KM Learning Power ครั้งที่ 1 การเขียนผลการดำเนินงานการประกันคุณภาพการศึกษา.
E N D
KMLearning Power ครั้งที่ 1 การเขียนผลการดำเนินงานการประกันคุณภาพการศึกษา กิจกรรม KMLearning Power ครั้งที่ 1 จัดขึ้นในวันจันทร์ที่ 27 กันยายน 2553 เวลา 14.00 – 17.00 น. ณ ห้องประชุมสายทรัพยากรสารสนเทศและเทคโนโลยี อาคาร ดร.เจริญ คันธวงศ์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ วิทยาเขตกล้วยน้ำไท โดย อ.ภุมรี บัวสมบูรณ์ ผู้อำนวยการสำนักวิจัยสถาบันและประเมินผล เป็นวิทยากร วัตถุประสงค์ในการจัดกิจกรรม เพื่อให้บุคลากรสำนักวิจัยสถาบันและประเมินผลเข้าใจ และทราบวิธีการเขียนผลการดำเนินงานการประกันคุณภาพให้ถูกต้อง ตรงตามแบบฟอร์มที่กำหนด และเป็นไปในทิศทางเดียวกัน ผลการดำเนินงาน การประเมิน ภาพ
ผลการดำเนินงาน • วิทยากรได้แบ่งการเขียนผลการดำเนินงานการประกันคุณภาพการศึกษา เป็น 4 ส่วนใหญ่ คือ • การเขียนผลการดำเนินงาน • การเขียนอ้างอิงเอกสาร • การประเมินตนเอง • การเขียนคำที่เป็นศัทพ์ภาษาอังกฤษ กลับ
การเขียนผลการดำเนินงานการเขียนผลการดำเนินงาน • การเขียนคำขึ้นต้นไม่จำเป็นต้องใช้คำว่า “สำนักวิจัยสถาบันและประเมินผล” แต่ควรเขียนในส่วนของเนื้อหาได้เลย • ควรเขียนให้สอดคล้องกับเกณฑ์ที่ตั้งไว้ • คำนึงถึงความเหมาะสม และสละสลวย ไม่จำเป็นต้องเขียนล้อคำของเกณฑ์มาทุกคำ • เมื่อมีเนื้อหาเยอะควรเขียนแยกเป็นข้อๆ เพื่อให้น่าอ่าน และเข้าใจง่าย • เมื่อนำTemplateของมหาวิทยาลัยมาปรับปรุง ควรแก้ไขข้อความให้เรียบร้อย ไม่ควรนำส่วนที่เกี่ยวข้องมาเขียนไว้ • ควรเขียนในเชิงลึก คือ มีการอธิบายถึงรายละเอียดด้วย • ควรมีความรอบคอบ มีการตรวจเช็คคำถูกผิด ก่อนนำส่ง กลับ
การเขียนอ้างอิงเอกสารการเขียนอ้างอิงเอกสาร • การเขียนเอกสารอ้างอิงควรเขียนเรียงตามลำดับหมายเลขให้ถูกต้อง • ควรเขียนอ้างอิงของตัวบ่งชี้นั้นก่อน แล้วจึงเขียนอ้างอิงในตัวบ่งชี้อื่น พร้อมทั้งเขียนเรียงตามลำดับหมายเลขอ้างอิงนั้นๆ เช่น • เอกสารหมายเลข 3.1.1 ... • เอกสารหมายเลข 3.1.2 ... • อ้างอิงตามเอกสารหมายเลข 1.1.2 ... • อ้างอิงตามเอกสารหมายเลข 2.2.2 ... • การอ้างอิงเว็บไซต์ ให้เขียนอธิบายรายละเอียดประกอบด้วยเสมอ เช่น เอกสารหมายเลข 2.1.5 เว็บไซต์สำหรับบุคลากร มหาวิทยาลัยกรุงเทพ http://my.bu.ac.th/ กลับ
การประเมินตนเอง • การเขียนตารางการประเมินตนเอง • การเขียนจุดแข็งให้อธิบายถึงประเด็นและอธิบายรายละเอียดด้วย • การเขียนแนวทางเสริมจุดแข็งควรเขียนในเชิงรูปธรรมสามารถนำไปปฏิบัติได้ ไม่ควรเขียนในเชิงนโนบาย • การเขียนวิธีปฏิบัติที่ดี ควรเขียนในสิ่งที่สามารถนำไปปฏิบัติได้พร้อมทั้งอธิบายรายละเอียด ไม่เขียนรวบรัดจนเกินไป กลับ
การเขียนคำที่เป็นศัทพ์ภาษาอังกฤษการเขียนคำที่เป็นศัทพ์ภาษาอังกฤษ คำที่สามารถเขียนเป็นภาษาไทยได้ให้เขียนเป็นภาษาไทย ถ้าไม่เป็นคำที่นิยมเขียนเป็นภาษาไทยโดยทั่วไปให้เขียนเป็นภาษาอังกฤษ เช่น เว็บไซต์ อีเมล File Server Template กลับ
การประเมิน กลับ