1 / 59

1.Electron โคจรรอบนิวเคลียสด้วย path คงที่ ที่ Ground state

แบบจําลอง อะตอมของ รัทเทอร์ ฟอร์ด รัทเทอร์ ฟอร์ด พบว่ ารังสี ส่วนใหญ่ ไม่ เบี่ยงเบน และส่วนน้อยทีเบี่ยงเบนนั้น ทํา มุมเบี่ยงเบนใหญ่ มากบางส่วนยังเบี่ยงเบนกลับทิศทางเดิมด้วย จํานวน รังสี ที่เบี่ยงเบนจะมากขึ้น ถ้าความหนาแน่นของแผ่นโลหะเพิ่มขึ้น.

alta
Download Presentation

1.Electron โคจรรอบนิวเคลียสด้วย path คงที่ ที่ Ground state

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. แบบจําลองอะตอมของรัทเทอร์ฟอร์ดรัทเทอร์ฟอร์ดพบว่ารังสี ส่วนใหญ่ ไม่ เบี่ยงเบนและส่วนน้อยทีเบี่ยงเบนนั้น ทํามุมเบี่ยงเบนใหญ่ มากบางส่วนยังเบี่ยงเบนกลับทิศทางเดิมด้วยจํานวนรังสี ที่เบี่ยงเบนจะมากขึ้น ถ้าความหนาแน่นของแผ่นโลหะเพิ่มขึ้น

  2. 1.Electron โคจรรอบนิวเคลียสด้วย path คงที่ ที่ Ground state 2.เมื่อได้รับพลังงานจะอยู่ที่ Excited state แต่ไม่เสถียรจะคายพลังงานและกลับมาอยู่ที่ Ground state

  3. Spectrum

  4. Hydrogen spectrum Visible light

  5. เมื่อ C คือความเร็วของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าในสุญญากาศมีค่า เท่ากับ 3.0x 108 เมตรต่อวินาที จากสูตร ค่าพลังงานของคลื่นแม่ เหล็กไฟฟ้าคํานวณได้ จากความสัมพันธ์ ดังนี้ E= hC /

  6. 1.เส้นสเปกตรัมเส้นหนึ่งของซีเซียมมีความยาวคลื่น 456nm ความถี่ของ เส้นสเปกตรัมนี้มีค่าเท่าใด และปรากฏเป็นแสงสีใด

  7. 2. คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีความยาวคลื่น 300 nm จะปรากฏในช่วงคลื่นของแสงที่มองเห็นได้หรือไม่ มีความถี่และพลังงานเท่าใด

  8. 3.เหตุใดเส้นสเปกตรัมเส้นของธาตุไฮโดรเจนจึงมีหลายเส้น ทั้ง ๆ ที่เป็นธาตุที่มีเพียง 1 electron

  9. แบบจำลองอะตอมแบบกลุ่มหมอกแบบจำลองอะตอมแบบกลุ่มหมอก

  10. แบบจำลองอะตอมแบบกลุ่มหมอกแบบจำลองอะตอมของโบร์ ใช้อธิบายเกี่ยวกับเส้นสเปกตรัมของธาตุไฮโดรเจนได้ดี แต่ไม่สามารถอธิบายเส้นสเปกตรัมของอะตอมที่มีหลายอิเล็กตรอนได้ จึงได้มีการศึกษาเพิ่มเติม โดยใช้ความรู้ทางกลศาสตร์ควันตัม สร้างสมการเพื่อคำนวณหาโอกาสที่จะพบอิเล็กตรอนในระดับพลังงานต่างๆ จึงสามารถอธิบายเส้นสเปกตรัมของธาตุได้ถูกต้องกว่าอะตอมของโบร์ ลักษณะสำคัญของแบบจำลองอะตอมแบบกลุ่มหมอกอธิบายได้ดังนี้

  11. 1. อิเล็กตรอนเคลื่อนที่รอบนิวเคลียสอย่างรวดเร็วตลอดเวลาด้วยความเร็วสูง  ด้วยรัศมีไม่แน่นอนจึงไม่สามารถบอกตำแหน่งที่แน่นอนของอิเล็กตรอนได้บอกได้แต่เพียงโอกาสที่จะพบอิเล็กตรอนในบริเวณต่างๆ ปรากฏการณ์แบบนี้นี้เรียกว่ากลุ่มหมอกของอิเล็กตรอน บริเวณที่มีกลุ่มหมอกอิเล็กตรอนหนาแน่น จะมีโอกาสพบอิเล็กตรอนมากกว่าบริเวณที่เป็นหมอกจาง  2. การเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนรอบนิวเคลียสอาจเป็นรูปทรงกลมหรือรูปอื่น ๆ ขึ้นอยู่กับระดับพลังงานของอิเล็กตรอน แต่ผลรวมของกลุ่มหมอกของอิเล็กตรอนทุกระดับพลังงานจะเป็นรูปทรงกลม

  12. รูปทรงต่างๆของกลุ่มหมอกอิเล็กตรอน จะขึ้นอยู่กับระดับพลังงานของอิเล็กตรอน การใช้ทฤษฎีควันตัม จะสามารถอธิบายการจัดเรียงตัวของอิเล็กตรอนรอบนิวเคลียส ได้ว่าอิเล็กตรอนจัดเรียงตัวเป็นออร์บิทัล(orbital) ในระดับพลังงานย่อย s , p , d , f  แต่ละออร์บิทัล จะบรรจุอิเล็กตรอนเป็นคู่ ดังนี้s – orbital              มี   1  ออร์บิทัล      หรือ  2  อิเล็กตรอน p – orbital              มี   3  ออร์บิทัล      หรือ  6  อิเล็กตรอน            d – orbital              มี   5  ออร์บิทัล      หรือ  10  อิเล็กตรอน f – orbital                มี   7  ออร์บิทัล      หรือ  14  อิเล็กตรอน

  13.  แต่ละออร์บิทัลจะมีรูปร่างลักษณะแตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนในออร์บิทัล และระดับพลังงานของอิเล็กตรอนในออร์บิทัลนั้นๆ  เช่น s – orbital  มีลักษณะเป็นทรงกลม p – orbital  มีลักษณะเป็นกรวยคล้ายหยดน้ำ ลักษณะแตกต่างกัน  3  แบบ ตามจำนวนอิเล็กตรอนใน  3      ออร์บิทัล  คือ  Px , Py  ,  Pz            d – orbital  มีลักษณะและรูปทรงของกลุ่มหมอก แตกต่างกัน  5  แบบ  ตามจำนวนอิเล็กตรอนใน  5  ออร์บิทัล คือ  dx2-y2 ,  dz2 ,    dxy  ,    dyz  ,   dxz 

  14. 1s orbital 2s orbital

  15. Px orbital Py orbital Pz orbital

  16. การจัดเรียง e- ของธาตุ Ca = 2 , 8 , 8 , 2มีแผนผังการจัดเรียง e- ดังนี้Ca มีจำนวน e- ในระดับพลังงานชั้นนอกสุด = 2 ตัวจำนวนอิเล็กตรอนในระดับพลังงานชั้นนอกสุด เรียกว่า เวเลนซ์อิเล็กตรอน (Valence electron) ดังนั้น Ca มีเวเลนซ์อิเล็กตรอน = 2

  17. ตัวอย่าง จงจัดเรียงอิเล็กตรอนของธาตุ โบรมีน ( Br )ธาตุโบรมีน(Br) มีเลขอะตอม = 35 แสดงว่า โบรมีน(Br) มีอิเล็กตรอน = 35 ตัว มีการจัดเรียงอิเล็กตอน เป็นดังนี้

  18. The first periodHydrogen has its only electron in the 1s orbital - 1s1, and at helium the first level is completely full - 1s2.

More Related