100 likes | 148 Views
เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางเรียนรู้และทักษะการคิดวิเคราะห์ ภูมิศาสตร์และประวัติศาสตร์ไทย ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้น ปีที่ 2 ด้วย จัดการเรียนรู้ด้วยเทคนิค KWLH plus. นายร วัต ศูนย์กลาง สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู. ความเป็นมาและความสำคัญของ ปัญหา.
E N D
เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางเรียนรู้และทักษะการคิดวิเคราะห์ภูมิศาสตร์และประวัติศาสตร์ไทย ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 2 ด้วยจัดการเรียนรู้ด้วยเทคนิค KWLH plus นายรวัต ศูนย์กลาง สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหาความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา ครูผู้สอนจึงมีบทบาทสำคัญที่สร้างวิธีการจัดการเรียนการสอนเพื่อให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ของหลักสูตรโดยอาศัยวิธีการใดวิธีการหนึ่งที่จะพัฒนาการคิดวิเคราะห์ของผู้เรียนให้มีประสิทธิภาพ งผู้วิจัยได้ศึกษาหลายวิธี พบว่า เทคนิค KWLH Plus เป็นเทคนิคหนึ่งที่สามารถพัฒนาผู้เรียนด้านการคิดได้ เป็นเทคนิคที่เน้นการนำโครงสร้างความรู้เดิมไปช่วยตีความเรื่องที่อ่าน มีการระดมพลังสมองในกลุ่ม โดยใช้ประสบการณ์เดิมของนักเรียน มีการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างนักเรียนกับนักเรียน และนักเรียนกับผู้สอน มีการคาดคะเนตรวจสอบความถูกต้องและการตั้งคาถามเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน ซึ่งวิธีสอนนี้จะช่วยให้ผู้เรียนมีความเข้าใจ ผู้วิจัยจึงสนใจที่จะนำแนวทางการจัดการเรียนรู้ด้วยเทคนิค KWLH Plus ที่เหมาะสม มาพัฒนาผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้และทักษะการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู ให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางเรียนรู้ภูมิศาสตร์และประวัติศาสตร์ไทย ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปี ที่ 2 ก่อนเรียนและหลังเรียนด้วยจัดการเรียนรู้ด้วยเทคนิค KWLH plus • 2. เพื่อเปรียบเทียบทักษะการคิดวิเคราะห์ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 2 ก่อนเรียนและหลังเรียนด้วยจัดการเรียนรู้ด้วยเทคนิค KWLH plus
ประชากรและกลุ่มตัวอย่างประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 1. ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 2 ของวิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู เขตหนองแขม กรุงเทพมหานคร ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2557 จำนวน 398 คน 2. กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ นักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู เขตหนองแขม กรุงเทพมหานคร จำนวน 28 คน ซึ่งได้มาโดยเทคนิคการสุ่มแบบเจาะจง
ผลการวิเคราะห์ข้อมูล ตารางแสดง คะแนนเฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ของคะแนนการทำแบบทดสอบผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้ก่อนเรียนและหลังเรียนด้วยจัดการเรียนรู้ด้วยเทคนิค KWLH plus จากตาราง ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ซึ่งสอดคล้องกับสมมติฐานการวิจัย
ผลการวิเคราะห์ข้อมูล (ต่อ) • ตาราง คะแนนเฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) คะแนนทักษะการคิดวิเคราะห์ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 2 ก่อนเรียนและหลังเรียนด้วยจัดการเรียนรู้ด้วยเทคนิค KWLH plus จากตารางพบว่า คะแนนทักษะการคิดวิเคราะห์ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 2 ก่อนเรียนและหลังเรียนด้วยจัดการเรียนรู้ด้วยเทคนิค KWLH plus หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
สรุปผลการวิจัย เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางเรียนรู้ภูมิศาสตร์และประวัติศาสตร์ไทย ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 2 ก่อนเรียนและหลังเรียนด้วยจัดการเรียนรู้ด้วยเทคนิค KWLH plusผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ หลังการจัดการเรียนรู้ ด้วยเทคนิค KWLH plus เกณฑ์ที่หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 คะแนนก่อนเรียน = 75 มีคะแนนเฉลี่ย = 2.46 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน = 0.63 คะแนนหลักเรียน = 197 มีคะแนนเฉลี่ย = 6.82 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน =0.72
สรุปผลการวิจัย (ต่อ) เปรียบเทียบทักษะการคิดวิเคราะห์ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 2 ก่อนเรียนและหลังเรียนด้วยจัดการเรียนรู้ด้วยเทคนิค KWLH plus คะแนนทักษะการคิดวิเคราะห์ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 2 ก่อนเรียนและหลังเรียนด้วยจัดการเรียนรู้ด้วยเทคนิค KWLH plus หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 นักเรียนมีคะแนนการคิดวิเคราะห์ก่อนเรียน = 69 มีคะแนนเฉลี่ย = 2.46 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน = 0.63 คะแนนทักษะการคิดวิเคราะห์ก่อนเรียน และมีคะแนนเฉลี่ย = 6.82 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน =0.72 มีคะแนนทักษะการคิดวิเคราะห์หลังเรียน = 191 มีคะแนนเฉลี่ย = 2.46 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน = 0.63 คะแนนทักษะการคิดวิเคราะห์ก่อนเรียน และมีคะแนนเฉลี่ย = 6.82 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน =0.72
ข้อเสนอแนะ ข้อเสนอแนะในการนำผลการวิจัยไปใช้ 1.จากผลการวิจัยพบว่า หลังการจัดการเรียนรู้ด้วยเทคนิค KWLH plus นักเรียนมีคะแนนผลการเรียนรู้และทักษะการคิดวิเคราะห์สูงขึ้น โดยมีคะแนนในระดับสูง ซึ่งทักษะการคิดวิเคราะห์ที่นักเรียนมีคะแนนในระดับสูง ดังนั้นครูควรนำเทคนิค KWLH plus ไปเป็นแนวทางในการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ให้กับนักเรียนในหน่วยการเรียนรู้อื่น ๆ ต่อไป 2.จากผลการวิจัยพบว่า นักเรียนมีคะแนนทักษะการคิดวิเคราะห์อยู่ในระดับดี จึงควรพัฒนาให้นักเรียนได้รับการฝึกอย่างต่อเนื่อง โดยครูอาจจัดประสบการณ์หรือสร้างสถานการณ์ต่างๆ อย่างหลากหลาย เพื่อให้นักเรียนได้ฝึกการนำความรู้มาประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับสถานการณ์นั้น ๆ ในหน่วยการเรียนรู้อื่น ๆ ต่อไป
ข้อเสนอแนะ ข้อเสนอแนะเพื่อการวิจัยครั้งต่อไป 1. ควรมีการศึกษาวิจัย การจัดการเรียนรู้โดยการประยุกต์ใช้เทคนิคการสอน KWL Plus เพื่อพัฒนาทักษะเฉพาะด้าน ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 2 ในการเขียนสรุปความจากการฟัง การดู และการพูด 2. ควรมีการศึกษาวิจัย การจัดการเรียนรู้โดยการประยุกต์ใช้เทคนิคการสอน KWL Plus เพื่อพัฒนาทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ของกลุ่มวิชาสามัญวิชาที่คล้ายคลึงกับกลุ่มสาระการเรียนรู้วิชาภูมิศาสตร์และประวัติศาสตร์ไทย