240 likes | 1.03k Views
ศูนย์การเรียนรู้ทางการวิจัย สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. การ Try Out แบบสอบถาม และการคัดเลือกคำถามการวิจัย. # 2 . ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข หัวหน้าศูนย์วิจัยเทคโนโลยีทางอาชีวศึกษา สำนักวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.
E N D
ศูนย์การเรียนรู้ทางการวิจัยศูนย์การเรียนรู้ทางการวิจัย สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ การ Try Out แบบสอบถามและการคัดเลือกคำถามการวิจัย # 2 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข หัวหน้าศูนย์วิจัยเทคโนโลยีทางอาชีวศึกษา สำนักวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
การคัดเลือกแบบสอบถามเพื่อการวิจัยการคัดเลือกแบบสอบถามเพื่อการวิจัย • 1. ความตรงเชิงเนื้อหา (Content Validity) • 2. ความตรงเชิงโครงสร้าง (Construct Validity) • 3. ความตรงตามสภาพ (Concurrent Validity) • 4. ความตรงเชิงพยากรณ์ (Predictive Validity)
Content Validity • เครื่องมือ/แบบสอบถามที่สร้างขึ้น ให้ตรงตามโครงสร้างนั้น มีความสอดคล้อง ระหว่างเนื้อหาสาระของเครื่องมือ ที่สร้างขึ้นกับเนื้อหาสาระของสิ่งที่ต้องการวิจัย/ วัตถุประสงค์การวิจัย โดยแบบสอบถามที่ สร้างขึ้นมานั้น ต้องครอบคลุมกรอบของเนื้อหา (ตรงตามวัตถุประสงค์กรอบแนวคิด/นิยามศัพท์)
Construct Validity • การเครื่องมือ/แบบสอบถามที่สร้างขึ้นนั้น สามารถวัด • คุณลักษณะ/ขอบเขตตามโครงสร้างของเรื่องที่ทำการวิจัยได้หรือไม่ โดยมีขั้นตอนดำเนินการสร้างเครื่องมือวิจัย ดังนี้ • 1. ผู้วิจัยพิจารณาจากวัตถุประสงค์และกรอบแนวคิดการวิจัย เป็นหลัก • 2. การพิจารณาแนวคิด/ทฤษฎีและนิยามศัพท์เฉพาะแนวทางฯ • 3. การพิจารณาจากแบบสอบถามของผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้องด้วย • 4. การพิจารณาจากจำนวนประชากรหรือขนาดกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ฯ • 5. การพิจารณาสถิติที่จะนำมาใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล/ตัวอย่างฯ • ซึ่งทั้ง 5 ข้อจะต้องพิจารณาไปพร้อม ๆ กันด้วย
การตรวจสอบโดยผู้เชี่ยวชาญการตรวจสอบโดยผู้เชี่ยวชาญ • การตรวจสอบโดยใช้ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะเรื่อง อย่างน้อย 3 ท่าน ตรวจสอบว่า มีความครอบคลุมเนื้อหาสาระ? โดยสามารถใช้แบบตรวจสอบเพื่อทดสอบว่า ผู้เชี่ยวชาญมีความเห็นสอดคล้องกันหรือไม่ (IOC : Index Objective Congruence) • IOC หรือ ดัชนีความเห็นสอดคล้องของผู้เชี่ยวชาญ ถ้าค่า > 0.5 ถือว่าข้อคำถามนั้นสามารถนำไปใช้ได้
การตรวจสอบคำถามตามวัตถุประสงค์วิจัยการตรวจสอบคำถามตามวัตถุประสงค์วิจัย
แบบสำรวจหน้า 3 กรอบความคิดของการวิจัย • ตัวแปรต้น • คณะ/สาขา/เพศ/ ... • ตัวแปรตาม • ด้าน 1 • ด้าน 2 • ด้าน 3 • ด้าน 4 • ด้าน 5
การวิเคราะห์ IOC ผิดพลาดนิดหน่อย
การคัดเลือกคำถามการวิจัยการคัดเลือกคำถามการวิจัย • ท่านอายุ .............. ปี • อายุระหว่าง • 20 – 30 ปี • 31 – 40 ปี • 41 – 50 ปี • สูงกว่า 50 ปี • สอดคล้องกับวัตถุประสงค์การวิจัยและตัวแปรการวิจัย ควรจะเลือกลักษณะคำถามแบบใด ???
ข้อความ หรือภาษาที่ใช้ในข้อความต้องชัดเจน • หน่วยงานของท่านสัมผัสได้ถึงปัญหาความอ่อนไหวทางอารมย์ของผู้ปฏิบัติงาน • ผู้ปฏิบัติงานในหน่วยงานของท่านมีปัญหาด้านอารมย์
ข้อคำถามไม่ควรมากเกินไปข้อคำถามไม่ควรมากเกินไป • แบบสอบถามชุดนี้มีจำนวน 5 ตอน 12 หน้า 120 ข้อ โปรดทำทุกหน้าและตรวจสอบว่าได้ทำครบถ้วนหรือไม่ คำถามของท่านจะเป็นประโยชน์แก่หน่วยงาน
ไม่ถามเรื่องที่เป็นความลับไม่ถามเรื่องที่เป็นความลับ • ผู้บังคับบัญชาของท่านเคยให้ท่านเบิกจ่ายเบี้ยเลี้ยงเกินจำนวนที่ควรได้รับ • เพื่อนร่วมงานของท่านเคยมีปัญหาทางด้านชู้สาวกับเพื่อนร่วมงานด้วยกัน • ท่านเคยพบว่าหน่วยงานมีการปิดบังซ่อนเร้น อำพรางเอกสารสำคัญบางอย่าง
ไม่ควรใช้ข้อความที่มีความหมายกำกวมไม่ควรใช้ข้อความที่มีความหมายกำกวม • หน่วยงานอาจจะหรือไม่แน่ว่าจะปรับโครงสร้างองค์กรเร็ว ๆ นี้ • ท่านคิดว่าไอคิวเด็กไทยต่ำลงไม่จริงเสมอไปที่ขาดอะไรบางอย่าง
ไม่ถามในเรื่องที่รู้แล้วไม่ถามในเรื่องที่รู้แล้ว • ท่านเห็นว่าควรมีการขึ้นเงินเดือนโดยเร็วที่สุด • ท่านทราบดีว่าการสูบบุหรี่เป็นบ่อเกิดของโรคร้ายแรงต่าง ๆ
คำถามต้องเหมาะสมกับกลุ่มตัวอย่างคำถามต้องเหมาะสมกับกลุ่มตัวอย่าง • กรณีกลุ่มตัวอย่างเป็น นักเรียนชั้นประถมปีที่ 3 • นักเรียนเห็นว่าควรให้มีการทำแท้งเสรีหรือไม่ • นักเรียนคิดว่าความขัดแย้งทางโครงสร้างสังคมเกิดจากปัญหาทางการเมืองเป็นส่วนใหญ่
คำถามควรถามเพียงประเด็นเดียวคำถามควรถามเพียงประเด็นเดียว • ท่านคิดว่าปัจจัยที่ส่งผลต่อการเรียนรู้ของนักเรียนประกอบด้วยครู ผู้ปกครอง เพื่อนและสภาพแวดล้อมในชุมชน • ครูเป็นปัจจัยที่ส่งผลต่อการเรียนรู้ของนักเรียน • ผู้ปกครองเป็นปัจจัยที่ส่งผลต่อการเรียนรู้ของนักเรียน • เพื่อนเป็นปัจจัยที่ส่งผลต่อการเรียนรู้ของนักเรียน • สิ่งแวดล้อมในชุมชนเป็นปัจจัยที่ส่งผลต่อการเรียนรู้ของนักเรียน
คำถามมีทิศทางเดียวกันคำถามมีทิศทางเดียวกัน • สถานที่มีความเหมาะสม • อากาศถ่ายเทได้สะดวก • อุปกรณ์มีความพร้อมใช้งาน • อาหารมีรสชาติแย่ • บริการมีความเป็นกันเอง • พื้นห้องรักษาความสะอาดดี
คำถามต้องตรงกับการแปลผลคำถามต้องตรงกับการแปลผล • ผู้อำนวยการมีพรหมวิหารสี่ในการทำงาน • การแปลผล • เห็นด้วยมากที่สุด • เห็นด้วยมาก • เห็นด้วยปานกลาง • เห็นด้วยน้อย • เห็นด้วยน้อยที่สุด
บทสรุป • การทดสอบแบบสอบถามเพื่อการวิจัย • แบบสอบถาม • แบบทดสอบ • การคัดเลือกแบบสอบถาม • การคัดเลือกโดยผู้เชี่ยวชาญ • การคัดเลือกโดยการทดสอบ • การใช้วิจารณญาณของผู้วิจัย
ศูนย์การเรียนรู้ทางการวิจัยศูนย์การเรียนรู้ทางการวิจัย สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ คำถาม ????! ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข081-7037515 prachyanunn@kmutnb.ac.th http://www.prachyanun.com Thank You !