1 / 37

“ ความอยู่รอดของวิสาหกิจ ฐานราก / SMEs ในสถานการณ์ปัจจุบัน ” โดย ผศ. ดร. ณัฐพล นิมมานพัชริทนร์

“ ความอยู่รอดของวิสาหกิจ ฐานราก / SMEs ในสถานการณ์ปัจจุบัน ” โดย ผศ. ดร. ณัฐพล นิมมานพัชริทนร์ สำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (สสว.) 22 สิงหาคม 2551. หัวข้อในการนำเสนอ. 1. สถานการณ์ SMEs. 2. ผลการสำรวจ SMEs รายภูมิภาค (ย่อ).

alea-duke
Download Presentation

“ ความอยู่รอดของวิสาหกิจ ฐานราก / SMEs ในสถานการณ์ปัจจุบัน ” โดย ผศ. ดร. ณัฐพล นิมมานพัชริทนร์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. “ความอยู่รอดของวิสาหกิจฐานราก/SMEsในสถานการณ์ปัจจุบัน”“ความอยู่รอดของวิสาหกิจฐานราก/SMEsในสถานการณ์ปัจจุบัน” โดย ผศ. ดร. ณัฐพล นิมมานพัชริทนร์ สำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (สสว.) 22 สิงหาคม 2551

  2. หัวข้อในการนำเสนอ 1. สถานการณ์ SMEs 2. ผลการสำรวจ SMEs รายภูมิภาค (ย่อ) 3. เตือนภัย SMEs รายสาขา 2551 (รายได้รวม ส่งออก กำไร ผลตอบแทน ผลิตภาพ) 3.1 อุตสาหกรรมการผลิต 3.2 ธุรกิจการค้าและการบริการ 4. ยุทธศาสตร์และกลไกการส่งเสริม SMEs

  3. สถานการณ์ SMEs

  4. 2008f Thailand Enterprise Profiles Employment (Person) No. of SMEs GDP (Million Baht) Exports (Million Baht) 13,477 (0.6%) 4,082,389 (70.13%) 5,157,468 (61.3%) 2,923,672 (24%) 2,359,304 (99.4%) 9,260,618 (76%) 3,262,671 (38.7%) 1,752,618 (29.87%) Total 5,867,640 8,420,139 2,372,781 12,184,290 Notes: There were 0.3% of the enterprises whose information on size was unavailable. GDPof agricultural sector was not included. There were 2.2% of the export transactions whose information on the exporters’ size was unavailable. 1 USD = 31 Baht 4

  5. สถานการณ์ SMEs 2551 76.00% 99.43% จำนวนแรงงาน 9.260 ล้านคน เพิ่ม 2.48% จำนวนวิสาหกิจ 2.359 ล้านราย เพิ่ม 1.62% 29.89% 29.87% นำเข้า 1.642 ล้านล้านบาท เพิ่ม 12.97% ส่งออก 1.753 ล้านล้านบาท เพิ่ม 10.69% 36.17% ผลตอบแทนจากการดำเนินกิจการ 3.69% ลด 16.29% มูลค่าตลาด (รายได้รวม) 6.033 ล้านล้านบาท เพิ่ม 2.88% ผลิตภาพแรงงาน (LP) 78,000 บาท/คน/ปี ลด 17.26% ผลิตภาพทุน (CP) 0.23 เท่า ลด 16.21% ข้อมูล Updated 12 สิงหาคม 2551

  6. สัดส่วน SMEs 99.52 99.45 99.41 99.43 2551f SMEs เพิ่มขึ้น 1.62% LEs เพิ่มขึ้น 3.83% TOTAL เพิ่มขึ้น 1.60% 2549 SMEs เพิ่มขึ้น 1.58% LEs ลดลง 4.07% TOTAL เพิ่มขึ้น 1.66% ที่มา : สำนักงานประกันสังคม, สำนักงานสถิติแห่งชาติ ประมวลโดย : โครงการศึกษาวิเคราะห์และเตือนภัย SMEsรายสาขา (SAW)

  7. สัดส่วน SMEs 76.06 76.73 76.10 76.00 2551f SMEs เพิ่มขึ้น 2.31% LEs เพิ่มขึ้น 2.82% TOTAL เพิ่มขึ้น 2.43% 25550 SMEs เพิ่มขึ้น 2.13% LEs เพิ่มขึ้น 5.79% TOTAL เพิ่มขึ้น 2.98% 2548 SMEs เพิ่มขึ้น 1.20% LEs เพิ่มขึ้น 1.83% TOTAL เพิ่มขึ้น 1.35% 2549 SMEs เพิ่มขึ้น 4.79% LEs เพิ่มขึ้น 0.95% TOTAL เพิ่มขึ้น 3.87% ที่มา : สำนักงานประกันสังคม, สำนักงานสถิติแห่งชาติ ประมวลโดย : โครงการศึกษาวิเคราะห์และเตือนภัย SMEsรายสาขา (SAW)

  8. 2550 SMEs เพิ่มขึ้น 10.08% LEs เพิ่มขึ้น 7.04% TOTAL เพิ่มขึ้น 6.24% 2551f SMEs เพิ่มขึ้น 10.69% LEs เพิ่มขึ้น 12.15% TOTAL เพิ่มขึ้น 11.66% 2548 SMEs เพิ่มขึ้น 12.35% LEs เพิ่มขึ้น 15.44% TOTAL เพิ่มขึ้น 14.50% 2549 SMEs เพิ่มขึ้น 9.32% LEs เพิ่มขึ้น 10.12% TOTAL เพิ่มขึ้น 11.49% ที่มา : กรมศุลกากร ประมวลโดย : โครงการศึกษาวิเคราะห์และเตือนภัย SMEsรายสาขา (SAW)

  9. ที่มา : กรมศุลกากร ประมวลโดย : โครงการศึกษาวิเคราะห์และเตือนภัย SMEsรายสาขา (SAW)

  10. ที่มา : กรมพัฒนาธุรกิจการค้า ,สำนักงานประกันสังคม, สำนักงานสถิติแห่งชาติ ประมวลโดย : โครงการศึกษาวิเคราะห์และเตือนภัย SMEsรายสาขา (SAW)

  11. ที่มา : กรมพัฒนาธุรกิจการค้า ,สำนักงานประกันสังคม, สำนักงานสถิติแห่งชาติ ประมวลโดย : โครงการศึกษาวิเคราะห์และเตือนภัย SMEsรายสาขา (SAW)

  12. อัตราผลตอบแทนจากการดำเนินงาน เท่ากับ (กำไรสุทธิ*100)/รายได้รวม ที่มา : กรมพัฒนาธุรกิจการค้า ,สำนักงานประกันสังคม, สำนักงานสถิติแห่งชาติ ประมวลโดย : โครงการศึกษาวิเคราะห์และเตือนภัย SMEsรายสาขา (SAW)

  13. ผลิตภาพทุนเท่ากับ มูลค่าเพิ่ม/สินทรัพย์ดำเนินงาน 2549 SMEs เพิ่มขึ้น 45.37% LEs เพิ่มขึ้น 37.96% TOTAL เพิ่มขึ้น 40.35% 2550 SMEs ลดลง 3.47% LEs ลดลง 5.47% TOTAL ลดลง 4.85% ที่มา : กรมพัฒนาธุรกิจการค้า ,สำนักงานประกันสังคม, สำนักงานสถิติแห่งชาติ ประมวลโดย : โครงการศึกษาวิเคราะห์และเตือนภัย SMEsรายสาขา (SAW)

  14. ผลิตภาพแรงงาน เท่ากับ มูลค่าเพิ่ม/จำนวนแรงงาน 2549 SMEs เพิ่มขึ้น 1.94% LEs เพิ่มขึ้น 2.69% TOTAL เพิ่มขึ้น 0.72% 2550 SMEs เพิ่มขึ้น 3.11% LEs ลดลง 2.44% TOTAL เพิ่มขึ้น 0.85% 2550 SMEs ลดลง 17.26% LEs ลดลง 16.69% TOTAL ลดลง 16.68% ที่มา : กรมพัฒนาธุรกิจการค้า ,สำนักงานประกันสังคม, สำนักงานสถิติแห่งชาติ ประมวลโดย : โครงการศึกษาวิเคราะห์และเตือนภัย SMEsรายสาขา (SAW)

  15. ผลการสำรวจ SMEs รายภูมิภาค

  16. Samplings SMEs ในการสำรวจ 4 ภูมิภาค 392,897 (17%) 800 (0.2%) 633,974 (28%) 1,300 (0.2%) กทม. = 550,158 (24%) อื่นๆ = 338,077 (15%) 888,235 (39%) 145,376 (6%) 300 (0.2%) • SMEs = 2,269,971 (99.53%) • Sampling 2,800 (0.1%) • อุตสาหกรรมการผลิต 624 (21.92%) • ธุรกิจการบริการ 490 (17.21%) • ธุรกิจการค้า 1,733 (60.87%) 192,666 (8%) 400 (0.2%) ไม่ระบุ 16,823 กิจการ (1%)

  17. SMEs มีการวางแผนอย่างเป็นระบบ? FSP = 62% FSP = 58% Samplings n = 2,835 กิจการ Fomalised Planning / FSP = 1,698 (59.89%) FSP = 53% สรุป SMEs ในภาคใต้และภาคเหนือมีการจัดทำแผนธุรกิจอย่างเป็นระบบมากกว่าภาคอื่นๆ Non Fomalised Planning/ NFPS = 1,137 (40.10%) FSP = 68%

  18. SMEs มีการกำหนดเป้าหมายของกิจการหรือไม่? เป้าหมาย 64%, พบในกลุ่มที่มีการวางแผนมากกว่ากลุ่มที่ไม่มีการวางแผนโดย FSP (79%) > NFSP (40%) เป้าหมาย 46%, พบในกลุ่มที่มีการวางแผนมากกว่ากลุ่มที่ไม่มีการวางแผนโดย FSP (63%) > NFSP (23%) สรุป SMEs ประมาณ 54% จากทั้งหมดมีการกำหนดเป้าหมาย / ภาคเหนือและภาคใต้ส่วนมากมีการกำหนดเป้าหมาย มากกว่าภาคอื่นๆ โดยเฉพาะกลุ่มที่มีการวางแผนธุรกิจอย่างเป็นระบบ เป้าหมาย 51%, พบในกลุ่มที่มีการวางแผนมากกว่ากลุ่มที่ไม่มีการวางแผนโดย FSP (76%) > NFSP (22%) เป้าหมาย 65%, พบในกลุ่มที่มีการวางแผนมากกว่ากลุ่มที่ไม่มีการวางแผนโดย FSP (77%) > NFSP (40%) FSP = กลุ่มที่มีการวางแผน NFSP = กลุ่มที่ไม่มีการวางแผน

  19. อะไรคือเป้าหมายเชิงปริมาณของ SMEs ในปี 2551? • กำไร รายได้ และเงินทุนหมุนเวียน • การเติบโต ผลตอบแทนจากการขาย • ผลตอบแทนจากการลงทุน (FSP, 51%) • กำไร รายได้ และเงินทุนหมุนเวียน • การเติบโต ผลตอบแทนจากการขาย • ผลตอบแทนจากการลงทุน สรุป SMEs ในทุกภูมิภาคทั้งที่มีการวางแผนและไม่มีการวางแผนเน้นเป้าหมายทางธุรกิจเหมือนกันด้าน กำไร การเติบโต และผลตอบแทนมากกว่าเป้าหมายอื่นๆ • กำไร รายได้ และเงินทุนหมุนเวียน • การเติบโต ผลตอบแทนจากการขาย • ผลตอบแทนจากการลงทุน • กำไร รายได้ และเงินทุนหมุนเวียน • การเติบโต ผลตอบแทนจากการขาย • ผลตอบแทนจากการลงทุน FSP = กลุ่มที่มีการวางแผน NFSP = กลุ่มที่ไม่มีการวางแผน

  20. SMEs มีการเปลี่ยนเป้าหมายของกิจการตาม Inflation Rate หรือไม่ในปี 2551? เปลี่ยน 71%, พบในกลุ่มที่มีการวางแผนมากกว่ากลุ่มที่ไม่มีการวางแผนโดย FSP (76%) > NFSP (58%) เปลี่ยน 80%, พบในกลุ่มที่มีการวางแผนมากกว่ากลุ่มที่ไม่มีการวางแผนโดย FSP (82%) > NFSP (73%) สรุป SMEs ประมาณ 73% ในกลุ่มที่มีเป้าหมายได้ทำการเปลี่ยนเป้าหมายของตนในปี 2551 โดยเฉพาะ SMEs ในภาค อีสาน และเหนือ โดยไม่มีความแต่งต่างระหว่าง SMEs ที่มีการวางแผนและไม่มีการวางแผน เปลี่ยน 63%, พบในกลุ่มที่มีการวางแผนมากกว่ากลุ่มที่ไม่มีการวางแผนโดย FSP (65%) > NFSP (55%) เปลี่ยน 65%, พบในกลุ่มที่มีการวางแผนมากกว่ากลุ่มที่ไม่มีการวางแผนโดย FSP (68%) > NFSP (49%) FSP = กลุ่มที่มีการวางแผน NFSP = กลุ่มที่ไม่มีการวางแผน

  21. อะไรคือปัจจัยสำคัญต่อการปรับเปลี่ยนเป้าหมายของ SMEs ในปี 2551 • เศรษฐกิจ (FSP, เหนือ) • สถานการณ์ทางการเมือง (FSP, เหนือ) • สังคมและผู้บริโภค • ความสามารถของกิจการ • การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี • เพื่อความเหมาะสมของกลยุทธ์ของกิจการ • การกีดกันทางกาค้าที่ไม่ใช่ภาษี (NTB) • ข้อตกลงทางการค้าระหว่างประเทศ สรุป ปัจจัยสำคัญที่ทำให้ SMEs ต้องทำการปรับเปลี่ยนเป้าหมายประกอบด้วย เศรษฐกิจ สถานการณ์ทางการเมือง และสังคม FSP = กลุ่มที่มีการวางแผน NFSP = กลุ่มที่ไม่มีการวางแผน

  22. หน้า 22

  23. หน้า23

  24. ใครคือที่พึ่งของ SMEs ด้านเงินทุนในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา • ครอบครัว O 60.38%, FSP 57.13%, NFSP 65.94% • รายได้ภายในประเทศ O 16.14%, FSP 18.00%, NFSP 12.96% • กู้ยืมภายในประเทศ O 13.13%, FSP 13.11%, NFSP 13.17% • เงินทุนจากรัฐบาล O 6.18%, FSP 6.09%, NFSP 6.34% • ครอบครัว O 49.62%, FSP 48.26%, NFSP 51.44% • รายได้ภายในประเทศ O 29.26%, FSP 28.19%, NFSP 30.70% • กู้ยืมภายในประเทศ O 15.57%, FSP 17.16%, NFSP 13.45% • เงินทุนจากรัฐบาล O 0.79%, FSP 0.88%, NFSP 0.65% สรุป ใน 5 ปีที่ผ่านมา SMEs ได้รับเงินทุนจาก 1. ครอบครัว 50.62% (เหนือ / NFSP และภาคใต้) /NFSP 2. รายได้ภายในประเทศ 27.32% ( ตะวันออก / NFSP) 3. เงินทุนจากการกู้ยืมภายในประเทศ 14.07% (อีสาน/ FSP และใต้ FSP) 4. อื่นๆ 7.99% (เช่น เงินทุนจากรัฐบาล 2.19%, รายได้จากการส่งออก 1.62%, ผู้ร่วมทุนภายในประเทศ 1.23%) • รายได้ภายในประเทศ O 51.53%, FSP 39.36%, NFSP 65.45% • ครอบครัว O 32.13%, FSP 37.02%, NFSP 26.55% • กู้ยืมภายในประเทศ O 9.18%, FSP 11.59%, NFSP 6.43% • การส่งออก O 2.53%, FSP 3.88%, NFSP 1.00% • ครอบครัว O 57.14%, FSP 52.44%, NFSP 67.03% • รายได้ภายในประเทศ O 22.79%, FSP 24.99%, NFSP 18.16% • กู้ยืมภายในประเทศ O 14.42%, FSP 15.44%, NFSP 12.27% • ผู้ร่วมทุนภายในประเทศ O 1.24%, FSP 1.74%, NFSP 0.20% • เงินทุนจากรัฐบาล O 1.02%, FSP 0.57%, NFSP 1.95% FSP = กลุ่มที่มีการวางแผน NFSP = กลุ่มที่ไม่มีการวางแผน

  25. ใครคือที่พึ่งของ SMEs ด้านเงินทุนในช่วง 5 ปีข้างหน้า • ครอบครัว O 56.23%, FSP 50.90%, NFSP 65.86% • รายได้ภายในประเทศ O 17.43%, FSP 20.53%, NFSP 11.84% • กู้ยืมภายในประเทศ O 11.52%, FSP 11.31%, NFSP 11.92% • เงินทุนจากรัฐบาล O 7.58%, FSP 8.23%, NFSP 6.40% • ครอบครัว O 44.97%, FSP 42.15%, NFSP 48.75% • รายได้ภายในประเทศ O 33.96%, FSP 33.75%, NFSP 34.24% • กู้ยืมภายในประเทศ O 14.52%, FSP 16.45%, NFSP 11.93% • เงินทุนจากรัฐบาล O 1.93%, FSP 2.64%, NFSP 0.97% สรุป ใน 5 ปีข้างหน้า SMEs จะแสวงหาเงินทุนจาก 1. ครอบครัว 47.22% (เหนือ / NFSP และภาคใต้) /NFSP 2. รายได้ภายในประเทศ 31.09% ( ตะวันออก / NFSP) 3. เงินทุนจากการกู้ยืมภายในประเทศ 12.56% (อีสาน/ FSP และใต้ FSP) 4. เงินทุนจากรัฐบาล 3.36% (เหนือ/ FSP ) • รายได้ภายในประเทศ O 59.31%, FSP 50.28%, NFSP 69.64% • ครอบครัว O 23.57%, FSP 26.13%, NFSP 20.64% • กู้ยืมภายในประเทศ O 6.50%, FSP 8.00%, NFSP 4.79% • การส่งออก O 3.75%, FSP 4.84%, NFSP 2.50% • ครอบครัว O 56.61%, FSP 51.96%, NFSP 66.41% • รายได้ภายในประเทศ O 24.35%, FSP 26.43%, NFSP 19.96% • กู้ยืมภายในประเทศ O 12.46%, FSP 13.31%, NFSP 10.66% • เงินทุนจากรัฐบาล O 1.83%, FSP 1.96%, NFSP 1.56% FSP = กลุ่มที่มีการวางแผน NFSP = กลุ่มที่ไม่มีการวางแผน

  26. SMEs รายสาขา 2551 (รายได้รวม ส่งออก กำไร ผลตอบแทน ผลิตภาพฯลฯ)

  27. อุตสาหกรรมวิศวการ ที่มา : กรมพัฒนาธุรกิจการค้า ,สำนักงานประกันสังคม, สำนักงานสถิติแห่งชาติ ,กรมศุลกากร ประมวลโดย : โครงการศึกษาวิเคราะห์และเตือนภัย SMEsรายสาขา (SAW)

  28. อุตสาหกรรมเบา ที่มา : กรมพัฒนาธุรกิจการค้า ,สำนักงานประกันสังคม, สำนักงานสถิติแห่งชาติ ,กรมศุลกากร ประมวลโดย : โครงการศึกษาวิเคราะห์และเตือนภัย SMEsรายสาขา (SAW)

  29. อุตสาหกรรมเบา (ต่อ) ที่มา : กรมพัฒนาธุรกิจการค้า ,สำนักงานประกันสังคม, สำนักงานสถิติแห่งชาติ ,กรมศุลกากร ประมวลโดย : โครงการศึกษาวิเคราะห์และเตือนภัย SMEsรายสาขา (SAW)

  30. อุตสาหกรรมที่ใช้ทรัพยากรธรรมชาติอุตสาหกรรมที่ใช้ทรัพยากรธรรมชาติ ที่มา : กรมพัฒนาธุรกิจการค้า ,สำนักงานประกันสังคม, สำนักงานสถิติแห่งชาติ ,กรมศุลกากร ประมวลโดย : โครงการศึกษาวิเคราะห์และเตือนภัย SMEsรายสาขา (SAW)

  31. อุตสาหกรรมที่ใช้ทรัพยากรธรรมชาติ (ต่อ) ที่มา : กรมพัฒนาธุรกิจการค้า ,สำนักงานประกันสังคม, สำนักงานสถิติแห่งชาติ ,กรมศุลกากร ประมวลโดย : โครงการศึกษาวิเคราะห์และเตือนภัย SMEsรายสาขา (SAW)

  32. ภาคการค้าและบริการ ที่มา : กรมพัฒนาธุรกิจการค้า ,สำนักงานประกันสังคม, สำนักงานสถิติแห่งชาติ ,กรมศุลกากร ประมวลโดย : โครงการศึกษาวิเคราะห์และเตือนภัย SMEsรายสาขา (SAW)

  33. ภาคการค้าและบริการ (ต่อ) ที่มา : กรมพัฒนาธุรกิจการค้า ,สำนักงานประกันสังคม, สำนักงานสถิติแห่งชาติ ,กรมศุลกากร ประมวลโดย : โครงการศึกษาวิเคราะห์และเตือนภัย SMEsรายสาขา (SAW)

  34. ยุทธศาสตร์การส่งเสริม SMEs และ กลไกการส่งเสริมฯ

  35. แผนการส่งเสริม SMEs ฉบับที่ 2 (2550-2554) แผนปฏิบัติการ (2552) และกรอบการดำเนินงาน (2552) การสร้างและพัฒนาขีดความสามารถ ผปก. การเพิ่ม ผลิตภาพและขีดความสามารถนวัตกรรมของ SMEs ในภาคการผลิต การเพิ่มประสิทธิภาพและลดผลกระทบในภาคการค้า การส่งเสริมขีดความสามารถในการสร้างมูลค่าเพิ่มของภาคบริการ การส่งเสริม SMEs ในภูมิภาคและท้องถิ่น การพัฒนาปัจจัยเอื้อในการดำเนินธุรกิจ แปลงแผนส่งเสริม SMEs พ.ศ. 2550-2554 ความร่วมมือระหว่างประเทศ หน่วยงานร่วมภาคเอกชน เช่น สอท. หอการค้าฯ สมาคมและสมาพันธ์ของผู้ประกอบการสาขาต่างๆ ฯลฯ หน่วยงานร่วมภาครัฐ เช่น สกอ. สกว. วช. สมศ. กสอ. สมอ. สวทช. สนง. อาชีวะศึกษา สนง. นวัตกรรมแห่งชาติ ฯลฯ กรอบแผนปฏิบัติการส่งเสริม SMEs พ.ศ. 2552 สรุปโครงการทั้งหมด ตาม ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ และแผนงานของกรอบแผนปฏิบัติการส่งเสริม SMEs 2552 นำโครงการทั้งหมดเข้าสู่กระบวนการ การวิเคราะห์ กลั่นกรอง อิงสถานการณ์คณะทำงานฯ คณะกรรมการบริหาร สสว. คณะกรรมการส่งเสริมฯ ดำเนินการ ติดตาม และประเมินผล นำผลการประเมินใช้ในการพิจารณาโครงการในปีถัดไป

  36. Mechanism of SMEs Promotion กลไกและเครือข่ายการส่งเสริม SMEs • คณะกรรมการส่งเสริม SMEs • คณะกรรมการบริหาร สสว. ภูมิภาคและท้องถิ่น ส่วนกลาง แผนการสร้างและพัฒนาขีดความสามารถ คกก SMEs จว ข้อมูลและสถานการณ์ กระทรวง • สสว. • จัดทำแผนแม่บท - แผนปฏิบัติการ • สร้างกลไก (งบ/องค์ความรู้/ประเมินผล) • - สนับสนุนการดำเนินงาน • ติดตามประเมินผล กระทรวงในพื้นที่ รัฐวิสาหกิจ แผนการส่งเสริม SMEs อุตสาหกรรมการผลิต แผนแม่บท และแผนยุทธศาสตร์รายสาขา สถาบัน การศึกษา หน่วยงานอื่นๆของรัฐ แผนการส่งเสริม SMEs ธุรกิจการค้า องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น องค์การมหาชน นโยบายและแผนปฏิบัติการ แผนการส่งเสริม SMEs ธุรกิจบริการ สอท. จังหวัด ส. การศึกษา / ส. เฉพาะทาง โครงการหลักจากแผนปฏิบัติการสนับสนุนจากส่วนกลาง แผนการพัฒนาปัจจัยเอื้อในการดำเนินธุรกิจ หอการค้าจังหวัด หอการค้า/สอท./สมาคมธนาคารไทย ต่างประเทศ (หน่วยรัฐ-เอกชน) • ปฏิบัติ • รายงานผล • สะท้อนปัญหา/ความต้องการ • ปฏิบัติ • รายงานผล • สะท้อนปัญหา/ความต้องการ MOU Action Plan Coordination

  37. ขอบคุณครับ

More Related