1 / 75

Activity-Based-Cost Management Systems

Activity-Based-Cost Management Systems. แนวคิดต้นทุนผลิตภัณฑ์.

albert
Download Presentation

Activity-Based-Cost Management Systems

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Activity-Based-Cost Management Systems

  2. แนวคิดต้นทุนผลิตภัณฑ์แนวคิดต้นทุนผลิตภัณฑ์ ตามที่ได้ศึกษามาต้นทุนประกอบด้วยต้นทุน 3 ชนิดคือ วัตถุดิบ ค่าแรงงาน และค่าใช้จ่ายการผลิต โดยทั่วไปบริษัทจะมีผลิตภัณฑ์หลายชนิดด้วยกัน ซึ่งค่าใช้จ่ายการผลิตนั้นบางอย่างก็ยากที่จะบอกได้ว่าเป็นค่าใช้จ่ายของกระบวนการผลิตของผลิตภัณฑ์ใด เพื่อให้สามารถคิดต้นทุนผลิตภัณฑ์ได้ จึงต้องมีการจัดสรรต้นทุนค่าใช้จ่ายการผลิตไปเป็นส่วนๆให้เมาะสมกับต้นทุนการผลิตของผลิตภัณฑ์แต่ละตัว

  3. แนวคิดต้นทุนผลิตภัณฑ์แนวคิดต้นทุนผลิตภัณฑ์

  4. หน่วยงานในประเทศไทยที่ประยุกต์ ABC • บริษัทไมโครโพลิส (ประเทศไทย) จำกัด • บริษัทเอ เอ็ม ดี (ประเทศไทย) จำกัด • บริษัทแนชชั่นแนล เซมิคอนดัคเตอร์ (ประเทศไทย) จำกัด • บริษัทอัลฟาเทล จำกัด • บริษัทจอห์นสัน แอนด์ จอห์นสัน (ประเทศไทย) จำกัด • บริษัทดาว เคมิคัล (ประเทศไทย) จำกัด • บริษัทฟิลลิปส์ (ประเทศไทย) จำกัด • บริษัทโอเชียนกลาส จำกัด • บริษัทเนชั่นแนล พานาโซนิค (ประเทศไทย) จำกัด วรศักดิ์ ทุมมานนท์, Power point การบริหารตามกิจกรรม, http://www.chula.acc.ac.th , (Online: 28/02/2003)

  5. หน่วยงานในประเทศไทยที่ประยุกต์ ABC • บริษัทโตโยต้า (ประเทศไทย) จำกัด • บริษัทยูนิลีเวอร์ (ประเทศไทย) จำกัด • บริษัทเอ็น อี ซี (ประเทศไทย) จำกัด • บริษัทระยองเพียวริไฟเออร์ • บริษัทโทเทิลแอคเซคอมมิวนิเคชั่น จำกัด • บริษัทแอดวานซ์อินโฟร์เซอร์วิส (มหาชน) จำกัด • ธนาคารซิตี้แบงค์ (ประเทศไทย) จำกัด • ธนาคารกสิกรไทย (มหาชน) จำกัด • ธนาคารไทยทนุ ดีบีเอส (มหาชน) จำกัด • บริษัทเงินทุนหลักทรัพย์ทิสโก้ (มหาชน) จำกัด วรศักดิ์ ทุมมานนท์, Power point การบริหารตามกิจกรรม, http://www.chula.acc.ac.th , (Online: 28/02/2003)

  6. กรณีศึกษา บริษัทมาร์ตินไบร์ซีเคิลจำกัด

  7. แนวคิดการคิดต้นทุนแบบดั้งเดิมแนวคิดการคิดต้นทุนแบบดั้งเดิม a. plantwide overhead rate Overhead Costs Direct Attribution Plant wide Pool Unit – Based Driver Products

  8. 1. การคำนวณต้นทุนผลิตภัณฑ์วิธี Plant wide rate

  9. แบบมาตรฐานแบบเสือภูเขาแบบมาตรฐานแบบเสือภูเขา ค่าใช้จ่ายการผลิต - แบบมาตรฐาน (0.075x300) 22.50 - แบบเสือภูเขา ( 0.050x300) 15.00 วัตถุดิบทางตรง 700.00 900.00 ค่าแรงทางตรง 1.50 1.25 ต้นทุนการผลิตต่อคัน 724.00916.25

  10. แบบมาตรฐานแบบเสือภูเขาแบบมาตรฐานแบบเสือภูเขา ค่าใช้จ่ายการผลิต - แบบมาตรฐาน (0.075x300) 22.50 - แบบเสือภูเขา ( 0.050x300) 15.- วัตถุดิบทางตรง 700.- 900.- ค่าแรงทางตรง 1.50 1.25 ต้นทุนการผลิตต่อคัน 724.50916.25 *แบบเสือภูเขาน่าจะมีค่าใช้จ่ายการผลิตสูงกว่าแบบมาตรฐานเพราะ ติดตั้งเครื่องจักรบ่อยกว่าน่าจะภาระค่าใช้จ่ายสูงกว่านี้

  11. Overhead Costs Direct Attribution Driver Tracing Allocation Department B Pool Department A Pool Unit-Based Diver Unit-Based Diver Products Products b. departmental overhead rate การคิดต้นทุนผลิตภัณฑ์อัตราค่าใช้จ่ายการผลิตของแผนก

  12. งบประมาณ คชจ.การผลิต = งบประมาณการผลิต-แผนกขึ้นรูป แผนกขึ้นรูป ปริมาณตัวผลักดันต้นทุน-ชม.เครื่องจักร = 4,800,000 8,000 = 600.- บาท /MH งบประมาณ คชจ.การผลิต = งบประมาณการผลิต-แผนกประกอบ แผนกประกอบ ปริมาณตัวผลักดันต้นทุน-ชม.แรงงานทางตรง = 1,200,000 15,000 = 80.- บาท /DLH

  13. แบบมาตรฐานแบบเสือภูเขาแบบมาตรฐานแบบเสือภูเขา ค่าใช้จ่ายการผลิต -แผนกขึ้นรูป–แบบมาตรฐาน(5,600MH@600) 3,360,000.- -แบบเสือภูเขา(2,400MH@600) 1,440,000.-

  14. แบบมาตรฐานแบบเสือภูเขาแบบมาตรฐานแบบเสือภูเขา ค่าใช้จ่ายการผลิต -แผนกขึ้นรูป –แบบมาตรฐาน(5,600MH@600) 3,360,000.- -แบบเสือภูเขา(2,400MH@600) 1,440,000.- -แผนกประกอบ–แบบมาตรฐาน(11,250DLH@80) 900,000.- -แบบเสือภูเขา(3,750DLH@80) 300,000.- 4,260,000.- 1,740,000.- ปริมาณผลิต 200,000.- 100,000.- ค่าใช้จ่ายการผลิตต่อคัน 21.30 17.40 วัตถุดิบทางตรง 700.- 900.- ค่าแรงทางตรง 1.50 1.25 รวมต้นทุนการผลิตต่อคัน 722.80 918.65

  15. แบบมาตรฐานแบบเสือภูเขาแบบมาตรฐานแบบเสือภูเขา ค่าใช้จ่ายการผลิต -แผนกขึ้นรูป –แบบมาตรฐาน(5,600MH@600) 3,360,000.- -แบบเสือภูเขา(2,400MH@600) 1,440,000.- -แผนกประกอบ–แบบมาตรฐาน(11,250DLH@80) 900,000.- -แบบเสือภูเขา(3,750DLH@80) 300,000.- 4,260,000.- 1,740,000.- ปริมาณผลิต 200,000.- 100,000.- ค่าใช้จ่ายการผลิตต่อคัน 21.30 17.40 วัตถุดิบทางตรง 700.- 900.- ค่าแรงทางตรง 1.50 1.25 รวมต้นทุนการผลิตต่อคัน 722.80 918.65 *แบบเสือภูเขาน่าจะมีค่าใช้จ่ายการผลิตสูงกว่าแบบมาตรฐาน

  16. c. activity–based costing การบริหารตามกิจกรรม Costs of Resources (Overhead costs) Direct Attribution Resource Drivers Activities Unit-Base Drivers Nonunit-Base Drivers Products

  17. ABM and ABC is now one of the most important ways to be competitive. It is a system wide, integrated approach that focuses management’s attention on activities with the goal of improving customer value, reducing costs, and the resulting profit.

  18. การบริหารกิจกรรม ABM ทรัพยากร Continuous Improvement Process ตัวผลักดัน กิจกรรม การวัดผลการปฏิบัติงาน Control dimension สิ่งที่จะคิดต้นทุนObject Cost Dimension รูปที่ 8-5แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ABC และ ABM

  19. ความสำคัญของระบบต้นทุนกิจกรรมความสำคัญของระบบต้นทุนกิจกรรม การคำนวณต้นทุนผลิตภัณฑ์ การบริหารเงินสดและสภาพคล่องทางการเงิน การควบคุมต้นทุน การตัดสินใจเชิงกลยุทธ์

  20. วัตถุประสงค์ของการบัญชีต้นทุนกิจกรรมวัตถุประสงค์ของการบัญชีต้นทุนกิจกรรม • เพื่อควบคุมต้นทุนกิจกรรมให้อยู่ในระดับต่ำ • เพื่อเพิ่มคุณภาพของการผลิตผลิตภัณฑ์/การให้บริการ • เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของการเพิ่มผลผลิตด้านแรงงาน • เพื่อให้หน่วยงานรับผิดชอบต้นทุนที่เกิดขึ้นของแต่ละหน่วยงานหรือเพื่อให้ผู้รับผิดชอบกิจกรรมรับผิดชอบต้นทุนกิจกรรมที่เกิดขึ้น

  21. วัตถุประสงค์ของการบัญชีต้นทุนกิจกรรมวัตถุประสงค์ของการบัญชีต้นทุนกิจกรรม • เพื่อปันส่วนต้นทุนทางอ้อมที่เกิดขึ้นเข้าสู่กระบวนการผลิต/การบริการได้อย่างถูกต้องใกล้เคียงความเป็นจริงมากที่สุด • เพื่อปรับปรุงการประมาณการให้เหมาะสมกับต้นทุนและค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นจริง • เพื่อให้สามารถนำข้อมูลต้นทุนที่แท้จริงมาวิเคราะห์และตัดสินใจเชิงกลยุทธ์

  22. ประโยชน์ของการบัญชีต้นทุนกิจกรรมประโยชน์ของการบัญชีต้นทุนกิจกรรม • ช่วยให้การคำนวณต้นทุนผลิตภัณฑ์/บริการมีความถูกต้องใกล้เคียงความเป็นจริงมากขึ้น • ช่วยในการวัดผลปฏิบัติงานของกิจการ • ช่วยในการลดต้นทุนและค่าใช้จ่ายของกิจการ • ช่วยในการสนับสนุนการตัดสินใจ • ช่วยในการพัฒนากิจกรรมทั้งหมดอย่างต่อเนื่อง

  23. เมื่อไรที่กิจการควรจะนำการบัญชีต้นทุนกิจกรรมมาใช้เมื่อไรที่กิจการควรจะนำการบัญชีต้นทุนกิจกรรมมาใช้ • ระบบการบริหารต้นทุนเป็นไปตามระบบบัญชีการเงินและกฎเกณฑ์ ต่าง ๆ • การวัดผลด้านต้นทุนใช้การงบประมาณเป็นตัววัดเพียงอย่างเดียว • การวิเคราะห์ผลต่างระหว่างต้นทุนตามงบประมาณกับต้นทุนที่เกิดขึ้นจริงใช้เวลาอย่างมาก

  24. เมื่อไรที่กิจการควรจะนำการบัญชีต้นทุนกิจกรรมมาใช้เมื่อไรที่กิจการควรจะนำการบัญชีต้นทุนกิจกรรมมาใช้ • ต้นทุนการดำเนินงานสูงกว่าองค์กรที่อยู่ในระดับเดียวกันหรือคู่แข่งขัน • ฝ่ายจัดการตระหนักถึงความไม่ถูกต้องของนโยบายและกลยุทธ์ด้านราคา • การวัดผลการปฏิบัติงานยังไม่ได้ให้สารสนเทศเพื่อการตัดสินใจที่เพียงพอ

  25. การประยุกต์ใช้ต้นทุนกิจกรรมมาใช้ประกอบ ด้วยกัน 4 ขั้นตอนคือ การวิเคราะห์กิจกรรม การวิเคราะห์ตัวผลักดันต้นทุน การคำนวณต้นทุนกิจกรรม การคำนวณต้นทุนกิจกรรมลงสู่สิ่งที่จะนำมาคิดต้นทุน

  26. ตัวอย่างการนำระบบ ABC และ ABM มาใช้กับบริษัทมาร์ตินไบร์ซีเคิลจำกัด หมายเหตุ ABC ใช้ในการคำนวณต้นทุนผลิตภัณฑ์ ส่วน ABM เป็นการวิเคราะห์และการบริหารงานตามกิจกรรมของผลิตภัณฑ์ ดังนั้นเมื่อเอามารวมกันทำให้มีขั้นตอนที่มากกว่าทฤษฎี คือ 6 ขั้นตอน

  27. Step for Implement : • Process Value Analysis • Eliminate or Reduce Non-Value Added Activity • Grouping Activity Categories and Drivers • Determine Costs for each Activity Categories and and Level of Costs Drivers • Calculate A New Costs Categories Per Activities Drivers • Calculate A New Products Costs.

  28. Process Value Analysis Value-AddedActivities Non-Value-AddedActivities

  29. Non-Value-AddedActivities Can be eliminatedwithout reducingproduct qualityor performance. Add costs but not value to the product.

  30. Step for Implement : • Process Value Analysis • Eliminate or Reduce Non-Value Added Activity • Grouping Activity Categories and Drivers • Determine Costs for each Activity Categories and and Level of Costs Drivers • Calculate A New Costs Categories Per Activities Drivers • Calculate A New Products Costs.

  31. Non-Value-AddedActivities Add costs but not value to the product. Can be eliminatedwithout reducingproduct qualityor performance.

  32. Activity Reduction Activity Selection Reduce Non-Value-Added Costs Activity Sharing Activity Elimination

  33. ใช้ระบบ CAD CAM สำหรับส่วนงานวิจัยและพัฒนา เพื่อลดต้นทุน และลดเวลาในการออกแบบผลิตภัณฑ์ และเพื่อให้สามารถวางผลิตภัณฑ์สู่ตลาดก่อนคู่แข่ง • เปลี่ยนเครื่องจักรใหม่ที่มีประสิทธิภาพการผลิตกว่าเดิม มีความยืดหยุ่นในการผลิตสูงกว่าแบบเดิมโดยสามารถใช้สำหรับการผลิตสินค้าหลายแบบ • วางแผนกระบวนการผลิตผลิตใหม่ใหม่มีความราบเรียบกว่าเดิม • ใช้ Kanpan Card เพื่อสื่อความหมายในกระบวนการผลิต ลดเวลาการประชุมอบรมพนักงานเมื่อเปลี่ยนชนิดสินค้าที่ผลิตในระหว่างกระบวนการผลิต • นำระบบแขนกลในการหยิบจับชิ้นส่วน และการเคลื่อนย้ายระหว่างกระบวนการผลิต • ซื้อรถโฟค์ลิฟเพื่อใช้ในการเคลื่อนย้ายวัตถุดิบจากคลังเข้าสู่กระบวนการผลิตและผลิตภัณฑ์เข้าสู่คลังสินค้า • แสวงหาผู้จัดจำหน่ายเพื่อช่วยลดภาระต้นทุนการเก็บรักษาและเงินจมในวัตถุดิบคงคลัง ลดเวลาในตรวจรับวัตถุดิบ • ใช้ระบบคอมพิวเตอร์ในการรับคำสั่งซื้อจากลูกค้า การจัดการวัตถุดิบคงคลังและการจัดซื้อวัตถุดิบจากผู้จัดจำหน่าย การสั่งการการผลิต การจัดทำบัญชี และการจัดการการเงิน • เปลี่ยนขั้นตอนการตรวจ ซึ่งแต่เดิมตรวจสอบเมื่อชิ้นงานผลิตเสร็จหากงานไม่เรียบร้อยก็จะต้องนำไปทำการแก้ไขให้ เป็นการตรวจสอบในระหว่างกระบวนการผลิตเพื่อลดของเสีย และเพิ่มความรวดเร็วในการผลิตมากขึ้น

  34. Step for Implement : • Process Value Analysis • Eliminate or Reduce Non-Value Added Activity • Grouping Activity Categories and Drivers • Determine Costs for each Activity Categories and and Level of Costs Drivers • Calculate A New Costs Categories Per Activities Drivers • Calculate A New Products Costs.

  35. Step for Implement : • Process Value Analysis • Eliminate or Reduce Non-Value Added Activity • Grouping Activity Categories and Drivers • Determine Costs for each Activity Categories and and Level of Costs Drivers • Calculate A New Costs Categories Per Activities Drivers • Calculate A New Products Costs.

More Related