html5-img
1 / 112

Individual Scorecard การถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมาย ของระดับองค์กรสู่ระดับบุคคล

Individual Scorecard การถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมาย ของระดับองค์กรสู่ระดับบุคคล. การพัฒนาระบบราชการไทย. พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2545 มาตรา 3 / 1. Good Governance. Efficiency Value-for-money. Effectiveness Quality Accountability.

Download Presentation

Individual Scorecard การถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมาย ของระดับองค์กรสู่ระดับบุคคล

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Individual Scorecardการถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมายของระดับองค์กรสู่ระดับบุคคล

  2. การพัฒนาระบบราชการไทยการพัฒนาระบบราชการไทย พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2545 มาตรา 3/1 Good Governance Efficiency Value-for-money Effectiveness Quality Accountability พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 Participation Transparency Responsiveness Decentralization แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย (พ.ศ. 2546 - พ.ศ. 2550) Rule of law

  3. Planning Measurement เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด เป้าหมาย กลยุทธ์ แผนการบริหาร ราชการแผ่นดิน (4 ปี) Corporate Scorecard ยุทธศาสตร์รัฐบาล • แผนปฏิบัติราชการ (4ปี) • กระทรวง/กรม • กลุ่มจังหวัด/จังหวัด • Strategic Business Unit Scorecard • กระทรวง/กรม • กลุ่มจังหวัด/จังหวัด เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด เป้าหมาย กลยุทธ์ ยุทธศาสตร์กระทรวง/กรม ยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด/จังหวัด • แผนปฏิบัติราชการ (รายปี) • กระทรวง กรม • กลุ่มจังหวัด/จังหวัด Sub-unit Scorecard Team & Individual Scorecard Budgeting

  4. Strategic Management Process Strategy Formulation แผนการบริหารราชการแผ่นดิน (2548-2551) แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี S W O T Vision Strategic Issue Goal (KPI / target) Strategies Strategic Control Strategy Implementation Action Plan Risk Assessment & Management Structure Process/IT Alignment Rule & Regulation People/ Culture Blueprint for Change

  5. การนำเครื่องมือ/เทคนิคต่าง ๆ มาใช้ในการบริหารยุทธศาสตร์นั้น จะต้องเลือกใช้ให้ถูกวิธีและถูกกระบวนการ โดยเริ่มจาก  1. การวิเคราะห์ทางยุทธศาสตร์ (Strategic Analysis) โดยใช้เครื่องมือต่าง ๆ เช่น SWOT /Value Chain ฯลฯ2. การกำหนดทิศทางขององค์กร (Strategic Direction) โดยกำหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ3. การกำหนดประเด็นยุทธศาสตร์และเป้าประสงค์ (Strategic Formulation) 4. การจัดทำแผนที่ยุทธศาสตร์ (Strategy Map)  โดยนำประเด็นยุทธศาสตร์และ เป้าประสงค์มากำหนดแผนที่ยุทธศาสตร์ในแต่ละมุมมอง ขณะเดียวกันก็สามารถนำเป้าประสงค์ต่าง ๆ มาวิเคราะหาปัจจัยเสี่ยงที่จะทำให้ไม่บรรลุเป้าประสงค์ได้5. กำหนดตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย แผนงานโครงการต่าง ๆ เพื่อให้บรรลุเป้าประสงค์ ซึ่งการกำหนดแผนงาน/โครงการนั้น สามารถกำหนดได้ทั้งแผนงาน/โครงการที่ทำให้บรรลุเป้าประสงค์ และแผนงานที่จะลดผลกระทบจากความเสี่ยง หากได้มีการวิเคราะห์หาปัจจัยเสี่ยงมาแล้วในการจัดทำแผนที่ยุทธศาสตร์ ขณะเดียวกันก็สามารถนำตัวชี้วัดระดับองค์กรดังกล่าว แปลงไปเป็นตัวชี้วัดระดับหน่วยงาน และระดับบุคคลต่อไป6. การวิเคราะห์หาขีดสมรรถนะ (Competencies) ที่เหมาะสม ซึ่งพิจารณาจากเป้าประสงค์ทางยุทธศาสตร์แต่ละข้อในแผนที่ยุทธศาสตร์ โดยพิจารณาว่าตำแหน่งงานใดเป็นตำแหน่งงานหลักที่จะทำให้เป้าประสงค์นั้นบรรลุ แล้วพิจารณาต่อว่าตำแหน่งงานนั้นควรมีทักษะ ความรู้ ความชำนาญ ในเรื่องใดบ้าง ซึ่งเมื่อสามารถพัฒนาให้บุคลากรในตำแหน่งนั้นมีขีดสมรรถนะตามที่กำหนดได้ ก็จะทำให้เป้าประสงค์นั้นบรรลุได้

  6. Good Governance พ.ร.ฎ.ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี 2546 New Public Management Strategic Management • Strategy Formulation • การวางวิสัยทัศน์และ • การคิดเชิงกลยุทธ์ • Strategy Map • การบริหารความเสี่ยง • วางแผนโครงการ • Strategy Implementation • Org. Structure (GO/PO/SE/SDU/etc.) • Process Redesign • IT (e-gov) • People (Competency) • Culture • KM • กฎหมาย • Strategic Control • คำรับรองการปฏิบัติ • ราชการ (PA) • BSC • Individual Scorecard รายงานข้อมูลสถานการณ์เศรษฐกิจและสังคม ค.ต.ป Globalization Good strategy comes first Making strategy works Public Sector Management Quality Award (PMQA) (MBNQA)

  7. ประเด็นคำถามหลักในการวางแผนยุทธศาสตร์ประเด็นคำถามหลักในการวางแผนยุทธศาสตร์ 1. เราจะไปทิศทางไหน (Where are you going?) - กำหนดวิสัยทัศน์ ภารกิจ (vision & mission statement) 2. สภาพแวดล้อมเป็นอย่างไร (What is the environment ?) - วิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายในและภายนอก (internal & external analysis) จุดแข็ง-จุดอ่อน โอกาส-ภัยคุกคาม (SWOT) 3. เราจะไปถึงจุดหมายได้อย่างไร (How do you get there?) - วางกลยุทธ์หรือแนวทางการดำเนินงาน (strategies)

  8. Vision วิสัยทัศน์ สิ่งที่อยากจะให้หน่วยงานเป็นในอีก 3 – 5 ปีข้างหน้า Mission พันธกิจ กรอบ ขอบเขต การดำเนินงานของหน่วยงาน Strategic Issues ประเด็นยุทธศาสตร์ ประเด็นหลักต้องคำนึงถึง ต้องพัฒนา ต้องมุ่งเน้น Goal เป้าประสงค์ อะไรคือสิ่งที่หน่วยงานอยากจะบรรลุ Key Performance Indicators ตัวชี้วัด สิ่งที่จะเป็นตัวบอกว่าหน่วยงานสามารถบรรลุเป้าประสงค์หรือไม่ Target เป้าหมาย ตัวเลข หรือ ค่า ของตัวชี้วัดที่จะต้องไปให้ถึง Strategy กลยุทธ์ สิ่งที่หน่วยงานจะทำเพื่อให้บรรลุเป้าประสงค์ นิยามศัพท์ใน Template

  9. วิสัยทัศน์(VISION) ประเด็นยุทธศาสตร์STRATEGIC TMEME เป้าประสงค์ แผนผังเชิงยุทธศาสตร์ (Strategy Map) การประเมินผลในภาพรวมขององค์กร (Corporate Scorecard) แผนปฏิบัติการ (Action Plan) แผนงาน/ โครงการ ค่า เป้าหมาย เป้าประสงค์ งบประมาณ ตัวชี้วัด Run the Business ประสิทธิผล Serve the Customer คุณภาพ Manage Resources ประสิทธิภาพ Capacity Building พัฒนาองค์กร ตัวชี้วัดระดับสำนัก/กอง ตัวชี้วัดระดับบุคคล

  10. แผนยุทธศาสตร์ แผนปฏิบัติการ กิจกรรม ผลลัพธ์สุดท้าย ผลลัพธ์ ผลผลิต ทรัพยากร (เงิน คน)

  11. มิติด้านประสิทธิผลตามยุทธศาสตร์มิติด้านประสิทธิผลตามยุทธศาสตร์ รายได้จากนักท่องเที่ยวเพิ่มขึ้น ประชาชนมีจิตสำนึกและพฤติกรรมในการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม ประชาชนชาวไทยมีการเรียนรู้ตลอดชีวิต มิติด้านคุณภาพการให้บริการ ความพึงพอใจของผู้รับบริการ ประชาชนได้รับการบริการที่รวดเร็วขึ้น มิติด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ การลดขั้นตอนการให้บริการ การนำระบบอิเล็กทรอนิกส์มาใช้ในการปฏิบัติงาน มิติด้านพัฒนาองค์กร บุคลากรมีคุณภาพและแรงจูงใจในการทำงาน หน่วยงานเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ การกำหนดเป้าประสงค์ ตัวอย่างของเป้าประสงค์ตามมิติต่างๆ การสร้างความเชื่อมโยงของเป้าประสงค์ • นำเป้าประสงค์ในแต่ละมิติมาจัดเรียง และเชื่อมโยงความสัมพันธ์ในลักษณะเหตุและผล • เป็นการสร้าง Strategy Map หรือแผนที่กลยุทธ์ • เป็นเครื่องมือในการสื่อสารและถ่ายทอดเป้าประสงค์และทิศทางของหน่วยงานให้ชัดเจนขึ้น • เพื่อเป็นการทำให้แต่ละหน่วยงานมั่นใจว่าเป้าประสงค์มีความเชื่อมโยงกันในลักษณะของเหตุและผล อันจะนำไปสู่การบรรลุวิสัยทัศน์ของหน่วยงาน

  12. การจัดทำ STRATEGY MAP (แผนผังเชิงยุทธศาสตร์) สามารถใช้เป็นเครื่องมือในการสื่อสารและถ่ายทอดกลยุทธ์ขององค์กรไปสู่เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานได้ดีขึ้น ทำให้ผู้ปฏิบัติงานทราบว่าองค์กรต้องการจะบรรลุความสำเร็จอะไร และมีการกำหนดแนวทางการดำเนินงานที่สำคัญๆ ที่ต้องทำอะไร จะมีการประเมินผลในสิ่งที่มีความสำคัญต่อความสำเร็จขององค์กรอย่างไร มีเป้าหมายการดำเนินงานเพียงใด ทำให้ผู้บริหารและผู้ปฏิบัติงานทราบบทบาทและ มีความมุ่งมั่นที่จะปฏิบัติงานให้บรรลุเป้าหมายที่กำหนดไว้ และเพื่อให้การประเมินผลมีความต่อเนื่องและเป็นรูปธรรม องค์กรควรมีการติดตามและประเมินผลงานตนเอง (Self-Assessment) อย่างสม่ำเสมอ เพื่อการปรับปรุงงานอย่างต่อเนื่อง

  13. กรณีตัวอย่าง Strategy Map ของสำนักงาน ก.พ.ร. (2550-2551) กระบวนการทำงานหลักมีการปรับปรุงให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ตาม Operating Model พัฒนานโยบาย การสร้างและพัฒนาเครื่องมือการบริหารจัดการ ภาครัฐสมัยใหม่ การแปลงสู่ภาคปฏิบัติ/การขยายผล การส่งเสริม/สนับสนุน/ให้คำปรึกษากับ หน่วยงานภาครัฐ การประเมินผล การพัฒนาให้เกิดความยั่งยืน/ การวางแผน สำหรับก้าวต่อไป พัฒนาคุณภาพการให้บริการประชาชนที่ดีขึ้น ปรับบทบาทภารกิจ และขนาดของ หน่วยงานภาครัฐ ให้มีความเหมาะสม ยกระดับ ขีดความสามารถและ มาตรฐานการทำงาน ให้อยู่ในระดับสูง เปิดระบบราชการสู่กระบวนการประชาธิปไตย ประเด็นยุทธศาสตร์ ประชาชนมีส่วนร่วมในการพัฒนาระบบราชการ หน่วยงานภาครัฐมีบทบาทภารกิจ โครงสร้าง และระบบบริหารงานที่ได้รับการยกระดับไปสู่ความเป็นเลิศ ประสิทธิผล ประชาชนมีความพึงพอใจในการให้บริการของหน่วยงานภาครัฐ 3 1 2 3.2 การเปิดโอกาสให้ประชาชนได้เข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาระบบราชการในรูปแบบที่หลากหลาย 3.1 1.2 1.1 การสร้างพันธมิตรและการพัฒนาเครือข่ายเพื่อการพัฒนาระบบราชการไทย 2.1 2.2 หน่วยงานภาครัฐมีการปรับ บทบาทภารกิจให้ดำเนินการเฉพาะบทบาทของรัฐและมีโครงสร้างที่เหมาะสม หน่วยงานภาครัฐมีการให้บริการที่มีคุณภาพและอำนวยความสะดวกแก่ประชาชนผู้ใช้บริการ หน่วยงานภาครัฐมีการลดขั้นตอน/ระยะเวลาในการปฏิบัติราชการเพื่อความรวดเร็วของการให้บริการ หน่วยงานภาครัฐมีการนำเทคนิคการบริหารสมัยใหม่มาใช้ในการพัฒนางาน 3.3 การให้ประชาชน เข้ามามีบทบาทในการตรวจสอบการปฏิบัติงาน ของหน่วยงานภาครัฐ หน่วยงานภาครัฐมีคุณธรรม จริยธรรม ในการปฏิบัติราชการ 1.3 คุณภาพการให้บริการ การมีความสัมพันธ์ที่ดีต่อเครือข่ายฯ ของสำนักงาน สำนักงาน ก.พ.ร.มีภาพลักษณ์ที่ดี ผู้รับบริการที่มีความพึงพอใจต่อการดำเนินการของสำนักงาน ก.พ.ร. สำนักงาน ก.พ.ร. มีความโปร่งใสในการปฏิบัติราชการ ภาคประชาชนมีส่วนร่วมในการดำเนินการกับสำนักงาน ก.พ.ร. 4 8 5 7 6 10 การบริหาร จัดการ ทรัพยากรที่มี ประสิทธิภาพ 9 ประสิทธิภาพของการปฏิบัติ ราชการ 11 กระบวนการ สร้างความ รับผิดชอบ ต่อสังคม 13 14 15 12 การพัฒนา ทรัพยากรบุคคลให้มี ขีดสมรรถนะที่เหมาะสม และสามารถปฏิบัติงาน ตามยุทธศาสตร์ได้ การจัดการ องค์ความรู้ภายในองค์การ เพื่อให้เกิดการถ่ายทอดความรู้ได้ทั่วองค์การอย่างต่อเนื่อง การบริหารจัดการระบบฐานข้อมูลสารสนเทศของสำนักงาน ก.พ.ร. อย่างมีคุณภาพ สร้างสภาพแวดล้อม ภายในองค์กรที่ดี เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต วัฒนธรรมองค์กร และการทำงานเป็นทีมของข้าราชการในสำนักงาน ก.พ.ร. เสริมสร้าง ขีดสมรรถนะ ขององค์กร ให้มีความเป็นเลิศ พัฒนา องค์การ

  14. กรณีตัวอย่าง – กรมคุมประพฤติ วิสัยทัศน์“เป็นเลิศในการแก้ไขฟื้นฟูผู้กระทำผิดในชุมชน เพื่อคืนคนดีสู่สังคม” ประเด็นยุทธ์ศาสตร์ที่ 1 ประเด็นยุทธ์ศาสตร์ที่ 2 รวมพลัง แก้ไขปัญหายาเสพติดให้ได้ผล อย่างยั่งยืน เปลี่ยนภาระเป็นพลัง 1. คืนคนดีสู่สังคม 2. ผู้ผ่านการฟื้นฟูในระบบบังคับรักษาสามารถเลิกยาเสพติดได้อย่างยั่งยืน 3. ผู้กระทำผิดในชุมชนสามารถกลับตนเป็นคนดีของสังคม ประสิทธิผล 5. ประชาชนในพื้นที่ต่างๆ สามารถได้รับบริการของกระทรวงยุติธรรมอย่างสะดวก รวดเร็ว จากเครือข่ายยุติธรรม ประเด็นยุทธ์ศาสตร์ที่ 3 4. การเปลี่ยนแปลงพฤตินิสัยอย่างมีคุณภาพ คุณภาพการให้บริการ ยุติธรรมถ้วนหน้า ประชามีส่วนร่วม ประเด็นยุทธ์ศาสตร์ที่ 4 7. การส่งเสริมให้หน่วยงานปฏิบัติตามมาตรฐานสากล 6. พัฒนากระบวนการในการงานอย่างต่อเนื่อง 8. การให้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วม ประสิทธิภาพ ของการปฏิบัติราชการ พัฒนากระบวนการยุติธรรมเพื่อประชาชนเข้าถึงได้ อย่างเสมอภาคเกิดความเชื่อมั่น เป็นธรรม ประเด็นยุทธ์ศาสตร์ที่ 5 10. การมีระบบการบริหารจัดการตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ.2546 รุกป้องกัน เร่งปราบปรามอาชญากรรมและการทุจริตคอร์รัปชั่น 9. การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ในการทำงานที่เหมาะสม พัฒนาองค์การ ประเด็นยุทธ์ศาสตร์ที่ 6 เสริมสร้างสมรรถนะในการบริหารทุกองค์กร ด้วยระบบการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี

  15. ผลสำเร็จ/ผลสัมฤทธิ์ (Results) สินค้า/ บริการ ความ คาดหวัง การดำเนิน งาน ทรัพยากร ประหยัด (economy) ประสิทธิผล (effectiveness) ผลผลิต (output) ผลลัพธ์ (outcome) ปัจจัยนำเข้า (input) กิจกรรม (activity) ประสิทธิภาพ (efficiency) / ผลิตภาพ (productivity) ความคุ้มค่า (value-for-money)

  16. การตรวจสอบและประเมินผล Intermediate Final Immediate Input Process Output outcome outcome outcome Financial & Compliance Auditing Process Evaluation Performance Audit Management Auditing Program Auditing Performance Assessment Program Impact Evaluation Monitoring (Evaluation Research) Evaluation Value-for-money Review Economy + Efficiency Review

  17. แนวคิดเบื้องต้นเกี่ยวกับการประเมินผลแนวคิดเบื้องต้นเกี่ยวกับการประเมินผล • จากเครื่องมือในการควบคุมสู่เครื่องมือในการบริหาร • Four functions of management: planning, organizing, leading, controlling • If you can’t measure, you can’t managed • If you can’t measure, you can’t improved • What gets measure, gets done • วัดหรือประเมินเฉพาะสิ่งที่มีความสำคัญเท่านั้น (Key Performance Indicators) • ปัจจุบันมีเครื่องมือใหม่ๆ ที่เข้ามาช่วยในเรื่องของการประเมินผลมากขึ้น เช่น BSC, KPI, Benchmarking, Management Cockpit, BSC Software

  18. แนวคิดเบื้องต้นเกี่ยวกับการประเมินผล แนวคิดเบื้องต้นเกี่ยวกับการประเมินผล ข้อดีของการจัดทำระบบในการประเมินผลองค์กร • การตัดสินใจในเรื่องของตัวชี้วัดที่จะใช้ทำให้กลยุทธ์และทิศทางขององค์กรมีความชัดเจนขึ้น เกิด Strategic Agreement • เป็นเครื่องมือที่ช่วยในเกิดการถ่ายทอดและสื่อสารในกลยุทธ์ไปทั่วทั้งองค์กร Strategic Communication • การแปลงตัวชี้วัดจากระดับบนสู่ระดับล่าง ทำให้เกิดความเป็นหนึ่งเดียวกันทั่วทั้งองค์กร Alignment • ทำให้องค์กรมีความสามารถในการคาดการณ์ถึงปัญหาและโอกาสที่จะเกิดขึ้นได้ในอนาคต Predictive and early warning capability • ทำให้ผู้บริหารมีมุมมองที่กว้างขึ้น และพิจารณาในหลายๆ ประเด็นที่ครอบคลุมขึ้น Holistic View

  19. แนวคิดเรื่อง Balanced Scorecard • เป็นเครื่องมือในการสร้างความสมดุลระหว่างด้านต่างๆคือ - ด้านการเงิน (Finance Perspective) - ด้านลูกค้า (Customer Perspective) - ด้านกระบวนการจัดการภายใน (Internal Business Process) - ด้านการเรียนรู้และการเติบโต (Learning and Growth) • มีความสมดุลระหว่างมุมมองระยะยาวและระยะสั้น • มีความสมดุลระหว่างมุมมองภายในและภายนอกองค์กร • มีความสมดุลระหว่างวัตถุประสงค์และตัวชี้วัดที่เป็นเหตุ (Leading Indicators or Performance Drivers) และ วัตถุประสงค์และตัวชี้วัดที่เป็นผล (Lagging Indicators or Outcomes) • ตัวชี้วัดแต่ละตัวมีความเชื่อมโยงในเชิงเหตุและผล • แปลงวิสัยทัศน์สู่การปฏิบัติ • ใช้ในการติดตามผลการดำเนินงาน

  20. แนวคิดเรื่อง Balanced Scorecard ข้อดีของการนำ Balanced Scorecard มาใช้คือ - ทำให้ผู้บริหารได้มีโอกาสทบทวนทิศทาง กลยุทธ์ขององค์กร ทำให้เกิดความรับผิดชอบร่วมกัน - ช่วยให้มีการสื่อสาร ถ่ายทอดกลยุทธ์ลงไปสู่ระดับต่าง ๆซึ่งหลักการ Balanced Scorecard จะคล้ายกับหลักการด้านการจัดการซึ่งเคยนิยมกันมา คือ หลัก MBO (Management By Objective) โดยจะเริ่มจากระดับบนลงมาระดับล่าง คือ เริ่มจาก Corporate Scorecard ก่อนแล้วจึงเป็น Division Scorecard โดย Scorecard ขององค์กรจะถูกสร้างอิงกับกลยุทธ์ เพราะฉะนั้น Scorecard ของระดับล่างก็จะอิงกับกลยุทธ์ด้วยทำให้ทุกคนได้เห็นภาพชัดเจนว่ากลยุทธ์ และทิศทางคืออะไร - ทำให้มีความสอดคล้องและเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันทุกคนไปในทิศทางเดียวกัน - ทำให้เกิดความสามารถในการเตือนภัยและคาดการณ์ได้ล่วงหน้า - ทำให้ผู้บริหารมีมุมมองที่กว้างขึ้นและมองหลายด้านมากขึ้นแทนที่จะมองเพียงด้านใดด้านหนึ่ง

  21. Total Quality Management (TQM) & Balanced Scorecard (BSC) Leadership Information & Analysis Capacity-building (Learning & Growth Perspective) Effectiveness (Financial Perspective) Strategy Deployment HR Focus Business Results Efficiency (Internal Work Process Perspective) Process Management Customer & Market Focus Quality (Customer Perspective) Enablers Achievement

  22. มิติด้านประสิทธิผล • ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของผลิตภัณฑ์มวลรวมของจังหวัด ตัวอย่าง • ร้อยละที่ลดลงของจำนวนครัวเรือนยากจน • ร้อยละการเพิ่มของรายได้จากการท่องเที่ยว • ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของมูลค่าการค้าชายแดน • การเพิ่มมูลค่าการส่งออกสินค้าเกษตรแปรรูป มิติด้านคุณภาพ มิติด้านประสิทธิภาพ • ร้อยละของระดับความพึงพอใจของผู้รับบริการ • ร้อยละของอัตราการเบิกจ่ายเงินบประมาณ • ระดับความสำเร็จในการเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม • ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงาน • ระดับความสำเร็จในการลดรอบระยะเวลาของขั้นตอนการปฏิบัติราชการ • ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ มิติด้านการพัฒนาองค์กร • ระดับความสำเร็จของการบริหารความรู้ • ระดับความสำเร็จของการพัฒนาระบบฐานข้อมูลและสารสนเทศ • ระดับความสำเร็จของการบริหารการเปลี่ยนแปลงและการพัฒนาบุคลากร

  23. การประเมินการปฏิบัติราชการและการจัดสรรสิ่งจูงใจ การประเมินการปฏิบัติราชการและการจัดสรรสิ่งจูงใจ การกำหนดแผนยุทธศาสตร์/แผนปฏิบัติราชการ4ปี การกำหนดแผนปฏิบัติ การ(Action Plan) การเจรจาความเหมาะสมของเกณฑ์การประเมินผล(ตัวชี้วัด น้ำหนักและค่าเป้าหมาย) การจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ การติดตาม ตรวจเยี่ยมและประเมิน ผลการปฏิบัติราชการ การจัดสรรสิ่งจูง ใจ

  24. ส่วนราชการที่จัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการส่วนราชการที่จัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ • กลุ่มที่ 3 กลุ่มนำร่อง (147) • กระทรวงนำร่อง 10 กระทรวง • (72 กรม ) • จังหวัด 75 จังหวัด • ส่วนราชการ • ทุกกระทรวง • กรม 142 แห่ง • สถาบันการศึกษา 62 แห่ง • มหาวิทยาลัย • มหาวิทยาลัยราชภัฏ • จังหวัด • จังหวัด 75 จังหวัด • องค์การมหาชน • องค์การมหาชน 16 แห่ง • ส่วนราชการ • ทุกกระทรวง • กรม 142 แห่ง • สถาบันอุดมศึกษา 73 แห่ง • มหาวิทยาลัย • มหาวิทยาลัยราชภัฏ • มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี • ราชมงคล • สถาบันเทคโนโลยี • ปทุมวัน • สถาบันการพลศึกษา • จังหวัด • จังหวัด 75 จังหวัด • องค์การมหาชน • องค์การมหาชน 17 แห่ง • ส่วนราชการ • ทุกกระทรวง • กรม 143 แห่ง • สถาบันอุดมศึกษา 73 แห่ง • มหาวิทยาลัย • มหาวิทยาลัยราชภัฏ • มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี • ราชมงคล • สถาบันเทคโนโลยี • ปทุมวัน • สถาบันการพลศึกษา • จังหวัด • จังหวัด 75 จังหวัด • องค์การมหาชน • องค์การมหาชน 18 แห่ง • ส่วนราชการ • ทุกกระทรวง • กรม 142 แห่ง • สถาบันอุดมศึกษา 74 แห่ง • มหาวิทยาลัย • มหาวิทยาลัยราชภัฏ • มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี • ราชมงคล • สถาบันเทคโนโลยี • ปทุมวัน • สถาบันการพลศึกษา • สถาบันบัณฑิพัฒนศิลป์ • จังหวัด • จังหวัด 75 จังหวัด • องค์การมหาชน • องค์การมหาชน 19 แห่ง • กลุ่มที่ 2 กลุ่มท้าทาย (23) • กรม 14 แห่ง • มหาวิทยาลัย 9 แห่ง • กลุ่มที่ 1 กลุ่มภาคบังคับ (68) • กรม 57 แห่ง • มหาวิทยาลัย 11 แห่ง รวม 307 แห่ง รวม 295 แห่ง รวม 308 แห่ง รวม 310 แห่ง รวม 238 แห่ง 2551 2547 2548 2549 2550

  25. ความสัมพันธ์เชื่อมโยงระหว่างการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีความสัมพันธ์เชื่อมโยงระหว่างการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี และตัวชี้วัดในคำรับรองการปฏิบัติราชการ คำรับรองการปฏิบัติราชการของส่วนราชการ 2550 Financial Perspective ประสิทธิผล (ผลลัพธ์) 50% ประโยชน์สุข ของประชาชน ระดับความสำเร็จตามแผนปฏิบัติราชการของกระทรวง กลุ่มภารกิจและกรม ระดับความสำเร็จ ตามพันธกิจหรือ ภารกิจหลักของกรม • ความโปร่งใส ภายนอก • อำนวยความสะดวก • และตอบสนองความ • ต้องการของประชาชน Customer Perspective คุณภาพ 15% • ป้องกันการทุจริตประพฤติมิชอบ ระดับความ พึงพอใจของผู้รับบริการ ระดับความสำเร็จของการมีส่วนร่วมของประชาชน ความโปร่งใส ในการปฏิบัติราชการ • การเปิดเผยข้อมูล • ข่าวสาร • การเปิดให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม Internal Work Process Perspective ประสิทธิภาพ 10% • ปรับปรุงระบบการทำงานให้ทันสมัยและมีประสิทธิภาพ ประสิทธิภาพการบริหารการเบิกจ่ายงบประมาณ ระดับความสำเร็จการปรับปรุงกระบวนงาน การประหยัดพลังงาน ภายใน Learning and Growth Perspective พัฒนาองค์การ 25% • เสริมสร้างขีดสมรรถนะ (เก่ง) และจริยธรรม (ดี)ของข้าราชการ การพัฒนาทุนมนุษย์ การพัฒนากฎหมาย การจัดการทุนด้านความรู้และ สารสนเทศ การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ Strategy Map / Balanced Scorecard

  26. ความสัมพันธ์เชื่อมโยงระหว่างการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีความสัมพันธ์เชื่อมโยงระหว่างการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี และตัวชี้วัดในคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรอบคำรับรองการปฏิบัติราชการของส่วนราชการ 2551 Financial Perspective ประสิทธิผล 45% ประโยชน์สุข ของประชาชน ระดับความสำเร็จตามแผนปฏิบัติราชการของกระทรวง กลุ่มภารกิจและกรม ระดับความสำเร็จ ตามพันธกิจหรือ ภารกิจหลักของกรม • ความโปร่งใส ภายนอก • อำนวยความสะดวก • และตอบสนองความ • ต้องการของประชาชน Customer Perspective คุณภาพการให้บริการ 20% • ป้องกันการทุจริตประพฤติมิชอบ ระดับความ พึงพอใจของผู้รับบริการ ระดับความสำเร็จของการมีส่วนร่วมของประชาชน ความโปร่งใส ในการปฏิบัติราชการ • การเปิดเผยข้อมูล • ข่าวสาร • การเปิดให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม Internal Work Process Perspective ประสิทธิภาพ 10% • ปรับปรุงระบบการทำงานให้ทันสมัยและมีประสิทธิภาพ ประสิทธิภาพการบริหารการเบิกจ่ายงบประมาณ ระดับความสำเร็จการปรับปรุงกระบวนงาน การประหยัดพลังงาน ภายใน Learning and Growth Perspective พัฒนาองค์การ 25% • เสริมสร้างขีดสมรรถนะ (เก่ง) และจริยธรรม (ดี)ของข้าราชการ การพัฒนาคุณภาพการจัดการ(การจัดการความรู้,ระบบสารสนเทศ,ระบบบริหารงานคคล ( HR Scorecard, Individual Scorecard )) การพัฒนากฎหมาย Strategy Map / Balanced Scorecard

  27. ภาพรวมการแปลงระบบประเมินผลลงสู่ระดับสำนัก/กองและระดับบุคคลภาพรวมการแปลงระบบประเมินผลลงสู่ระดับสำนัก/กองและระดับบุคคล วิสัยทัศน์ ประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ การประเมินผลในภาพรวมขององค์กร (Corporate Scorecard) แผนปฏิบัติการ (Action Plan) แผนผังเชิงยุทธศาสตร์ (Strategy Map) แผนงาน/ โครงการ ค่า เป้าหมาย เป้าประสงค์ งบประมาณ ตัวชี้วัด Run the Business ประสิทธิผล Serve the Customer คุณภาพ Manage Resources ประสิทธิภาพ Capacity Building พัฒนาองค์กร ตัวชี้วัดระดับสำนัก/กอง ตัวชี้วัดระดับบุคคล

  28. ภาพรวมการแปลงระบบประเมินผลระดับองค์กรลงสู่ระดับสำนัก/กองและระดับบุคคลภาพรวมการแปลงระบบประเมินผลระดับองค์กรลงสู่ระดับสำนัก/กองและระดับบุคคล ระดับองค์กร เป้าประสงค์และตัวชี้วัดในระดับองค์กร ขั้นตอนที่ 2 : การแปลงระบบประเมินผลจากระดับองค์การลงสู่ระดับสำนัก/กอง ระดับสำนัก/กอง บทบาท หน้าที่และภารกิจของสำนัก/กองที่สนับสนุนต่อเป้าประสงค์และตัวชี้วัดในระดับองค์กร บทบาท หน้าที่และภารกิจในงานประจำของสำนัก/กอง 2.1 ยืนยันบทบาทหน้าที่ของสำนัก/กอง เป้าประสงค์ในระดับสำนัก/กอง 2.2 กำหนดเป้าประสงค์ที่สำนัก/กองมีส่วนผลักดันเป้าประสงค์ขององค์กร 2.3 กำหนดเป้าประสงค์เพิ่มเติมตามหน้าที่งานที่ยังไม่ได้มีการประเมิน 2.4 กำหนดตัวชี้วัดในแต่ละเป้าประสงค์ ตัวชี้วัดในระดับสำนัก/กอง ระดับบุคคล ขั้นตอนที่ 3 : การแปลงระบบประเมินผลจากระดับสำนัก/กองลงสู่ระดับบุคคล บทบาท หน้าที่ของบุคคล ที่สนับสนุนต่อเป้าประสงค์และตัวชี้วัด ของผู้บังคับบัญชา บทบาท หน้าที่งาน ของบุคคล (Job Description) งานที่ได้รับ มอบหมาย เป็นพิเศษ 3.1 ยืนยันหน้าที่งานของบุคคล 3.2 กำหนดเป้าประสงค์ที่บุคคลมีส่วนผลักดันเป้าประสงค์ของผู้บังคับบัญชา เป้าประสงค์ในระดับบุคคล 3.3 กำหนดเป้าประสงค์เพิ่มเติมตามหน้าที่งานที่ยังไม่ได้มีการประเมิน 3.4 กำหนดเป้าประสงค์เพิ่มเติมตามงานที่ได้รับมอบหมายพิเศษที่ยังไม่ได้มีการประเมิน 3.5 กำหนดตัวชี้วัดในแต่ละเป้าประสงค์ ตัวชี้วัดในระดับบุคคล แนวทางในการแปลงระบบประเมินผลลงสู่ระดับบุคคล กระบวนการในการแปลงระบบประเมินผลลงสู่ระดับบุคคล ขั้นตอนที่ 1: การยืนยันระบบประเมินผลขององค์กร ระดับองค์กร ระดับสำนัก/กอง ระดับบุคคล

  29. ภาพรวมการแปลงระบบประเมินผลระดับจังหวัดลงสู่ระดับหน่วยงานและระดับบุคคลภาพรวมการแปลงระบบประเมินผลระดับจังหวัดลงสู่ระดับหน่วยงานและระดับบุคคล ขั้นตอนที่ 2 : การพัฒนาระบบประเมินผลระดับจังหวัด บทบาท หน้าที่และภารกิจที่สนับสนุนวิสัยทัศน์และประเด็นยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด วิสัยทัศน์จังหวัด 2.1 ยืนยันวิสัยทัศน์ของจังหวัด 2.2 กำหนดประเด็นยุทธศาสตร์ที่จังหวัดมีส่วนผลักดันวิสัยทัศน์และประเด็นยุทธศาสตร์ของกลุ่มจังหวัด ประเด็นยุทธศาสตร์ 2.3 กำหนดประเด็นยุทธศาสตร์เพิ่มเติมตามวิสัยทัศน์ของจังหวัด 2.4 กำหนดเป้าประสงค์ที่จังหวัดต้องการบรรลุภายใต้แต่ละประเด็นยุทธศาสตร์ 2.5 กำหนดตัวชี้วัดในแต่ละเป้าประสงค์ เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด บทบาท หน้าที่ของบุคคล ที่สนับสนุนต่อเป้าประสงค์และตัวชี้วัด ของผู้บังคับบัญชา บทบาท หน้าที่งาน ของบุคคล (Job Description) งานที่ได้รับ มอบหมาย เป็นพิเศษ เป้าประสงค์ในระดับบุคคล ตัวชี้วัดในระดับบุคคล แนวทางการพัฒนาระบบประเมินผล กระบวนการพัฒนาระบบประเมินผล ขั้นตอนที่ 1: การพัฒนาระบบประเมินผลระดับกลุ่มจังหวัด วิสัยทัศน์ 1.1 ยืนยันวิสัยทัศน์ของกลุ่มจังหวัด 1.2 ยืนยันประเด็นยุทธศาสตร์ของกลุ่มจังหวัด 1.3 กำหนดเป้าประสงค์ที่กลุ่มจังหวัดต้องการบรรลุภายใต้แต่ละประเด็นยุทธศาสตร์ 1.4 กำหนดตัวชี้วัดในแต่ละเป้าประสงค์ ประเด็นยุทธศาสตร์ ระดับกลุ่มจังหวัด เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด ระดับจังหวัด วิสัยทัศน์หน่วยงาน บทบาท หน้าที่และภารกิจที่สนับสนุนวิสัยทัศน์และประเด็นยุทธศาสตร์ส่วนราชการต้นสังกัด ขั้นตอนที่ 3 : การพัฒนาระบบประเมินผลระดับหน่วยงาน บทบาท หน้าที่และภารกิจที่สนับสนุนวิสัยทัศน์และประเด็นยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด 3.1 ยืนยันวิสัยทัศน์ของหน่วยงาน 3.2 กำหนดประเด็นยุทธศาสตร์ที่หน่วยงานมีส่วนผลักดันวิสัยทัศน์และประเด็นยุทธศาสตร์ของจังหวัด 3.3 กำหนดประเด็นยุทธศาสตร์ที่หน่วยงานมีส่วนผลักดันวิสัยทัศน์และประเด็นยุทธศาสตร์ของส่วนราชการต้นสังกัด ระดับหน่วยงาน ประเด็นยุทธศาสตร์ 3.6 กำหนดตัวชี้วัดในแต่ละเป้าประสงค์ 3.5 กำหนดเป้าประสงค์ที่หน่วยงานต้องการบรรลุภายใต้แต่ละประเด็นยุทธศาสตร์ 3.4 กำหนดประเด็นยุทธศาสตร์เพิ่มเติมตามวิสัยทัศนของหน่วยงาน เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด ขั้นตอนที่ 4 : การพัฒนาระบบประเมินผลระดับบุคคล ระดับบุคคล 3.1 ยืนยันหน้าที่งานของบุคคล 3.2 กำหนดเป้าประสงค์ที่บุคคลมีส่วนผลักดันเป้าประสงค์ของผู้บังคับบัญชา 3.3 กำหนดเป้าประสงค์เพิ่มเติมตามหน้าที่งานที่ยังไม่ได้มีการประเมิน 3.4 กำหนดเป้าประสงค์เพิ่มเติมตามงานที่ได้รับมอบหมายพิเศษที่ยังไม่ได้มีการประเมิน 3.5 กำหนดตัวชี้วัดในแต่ละเป้าประสงค์

  30. แนวทางในการจัดทำตัวชี้วัดในระดับหน่วยงานและระดับบุคคลแนวทางในการจัดทำตัวชี้วัดในระดับหน่วยงานและระดับบุคคล การพัฒนาระบบประเมินผลลงสู่ระดับบุคคลของส่วนราชการ ระดับกระทรวง ระดับกลุ่มภารกิจ ระดับกรม ระดับกรม ระดับสำนัก / กอง ระดับสำนัก/กอง ระดับบุคคล

  31. แนวทางในการจัดทำตัวชี้วัดในระดับหน่วยงานและระดับบุคคลแนวทางในการจัดทำตัวชี้วัดในระดับหน่วยงานและระดับบุคคล การพัฒนาระบบประเมินผลลงสู่ระดับบุคคลของหน่วยงานประจำจังหวัด กลุ่มจังหวัด...... ระดับกลุ่มจังหวัด ระดับกรม จังหวัด...... ระดับจังหวัด ระดับสำนัก / กอง สำนักงาน......... ระดับหน่วยงาน ระดับบุคคล ข้าราชการสังกัด สำนักงาน.......จังหวัด.... ระดับบุคคล

  32. แนวทางในการจัดทำตัวชี้วัดในระดับหน่วยงานและระดับบุคคลแนวทางในการจัดทำตัวชี้วัดในระดับหน่วยงานและระดับบุคคล • การแปลงตัวชี้วัดจากระดับองค์กรสู่ระดับหน่วยงาน • การแปลงลงทั้ง 4 มุมมอง • การแปลงโดยไม่เน้นความเป็นมุมมอง • การวิเคราะห์หน้าที่ บทบาท และกิจกรรมของหน่วยงาน พร้อมทั้งการจัดทำผลงานหลักของหน่วยงาน และการจัดทำตัวชี้วัดถึงผลงานหลักของหน่วยงาน • Customer Diagram: โดยการกำหนดลูกค้าหลักของหน่วยงาน สินค้าหรือบริการที่ลูกค้าต้องการ และตัวชี้วัดที่ใช้ในการวัด

  33. ลักษณะของตัวชี้วัด ในระดับหน่วยงาน • Identical KPI • ตัวชี้วัดที่เหมือนกับขององค์กร สามารถดึงขององค์กรมาได้เลย • Contributory KPI • ตัวชี้วัดที่ไม่ได้เหมือนกับขององค์กรโดยตรง แต่กำหนดตัวชี้วัดของหน่วยงานขึ้นมาที่ส่งผลกระทบต่อตัวชี้วัดขององค์กร • Common KPI • ตัวชี้วัดที่ทุกหน่วยงานในองค์กรมีเหมือนกัน • Unit Specific KPI • ตัวชี้วัดที่เป็นของหน่วยงานโดยเฉพาะ ไม่ได้ส่งผลต่อตัวชี้วัดขององค์กรแต่สะท้อนภาพงานของหน่วยงาน

  34. แนวทางในการจัดทำตัวชี้วัดในระดับหน่วยงานและระดับบุคคลแนวทางในการจัดทำตัวชี้วัดในระดับหน่วยงานและระดับบุคคล การแปลงตัวชี้วัดจากระดับองค์กรสู่ระดับบุคคล (Cascading KPIs) • เริ่มจากการสร้างตัวชี้วัดระดับองค์กร จากนั้นแปลงตัวชี้วัดระดับองค์กรลงสู่ตัวชี้วัดของผู้บริหารระดับรองๆ ลงไปเรื่อยๆ จนถึงตัวชี้วัดในระดับที่ต้องการ • ผู้บริหารระดับสูงดึงตัวชี้วัดของระดับองค์กรที่ตนเองต้องรับผิดชอบเข้ามาเป็นตัวชี้วัดของตนเอง และพัฒนาตัวชี้วัดอื่นๆ ขึ้นมาเพิ่ม • สามารถจัดทำในลักษณะของ Personal Scorecard ที่ประกอบด้วยมุมมองทั้ง 4 ด้าน หรือ ในลักษณะของ Personal KPI

  35. แนวทางในการจัดทำตัวชี้วัดในระดับหน่วยงานและระดับบุคคลแนวทางในการจัดทำตัวชี้วัดในระดับหน่วยงานและระดับบุคคล การวิเคราะห์บทบาท หน้าที่ และผลงานหลัก • เริ่มจากการวิเคราะห์บทบาทหน้าที่ของหน่วยงานหรือบุคคล โดยสามารถดูได้จาก • Job description • Mission • Role and responsibility • จากนั้นจึงกำหนดผลงานหลักของหน่วยงานหรือบุคคล โดยเฉพาะอย่างยิ่งผลงานที่ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อองค์กร • จัดทำตัวชี้วัดเพื่อวัดผลงานหลักของหน่วยงานหรือบุคคลนั้นๆ

  36. เกณฑ์ในการกำหนดตัวชี้วัดระดับทีมงานและบุคคลเกณฑ์ในการกำหนดตัวชี้วัดระดับทีมงานและบุคคล 1. มุ่งวัดที่ตัวผลลัพธ์หรือคุณค่าของงานแต่ละงานมากกว่าวัดการดำเนินกิจกรรม 2. ความสำคัญของตัวชี้วัดในระดับนี้อยู่ที่การสามารถที่จะยืนยันได้(Verifiable) มากกว่าการวัดออกมาเป็นตัวเลข (Quantifiable) 3. การกำหนดตัวชี้วัดระดับทีมงานหรือบุคคล a. ดัดแปลงมาจากตัวชี้วัดในระดับองค์กร b. ยืมมาจากองค์กรหรือฝ่ายอื่นที่ได้มีการพัฒนาตัวชี้วัดขึ้นมาแล้ว c. สร้างตัวชี้วัดขึ้นเอง 4. ในการที่จะสร้างตัวชี้วัดขึ้นมาเองนั้นมีหลักการที่สำคัญ ดังนี้ a. กำหนดตัวชี้วัดหลักตั้งแต่ 1 ถึง 4 ประการ โดยตัวชี้วัดหลักนั้นจะประกอบด้วย - เชิงปริมาณ (Quantity) - เชิงคุณภาพ (Quality) - ด้านต้นทุน (Cost) - ด้านระยะเวลา (Timeliness) b. ภายใต้ตัวชี้วัดหลักที่กำหนด ให้กำหนดตัวชี้วัดย่อยที่มีรายละเอียดที่ชัดเจนขึ้น โดยมี 2 ลักษณะ ได้แก่ - ตัวชี้วัดย่อยที่เป็นตัวเลข เชิงปริมาณที่สามารถวัดได้ - ในกรณีที่ไม่สามารถแปลงเป็นตัวเลขได้ จะต้องกำหนดเป็นตัวชี้วัดเชิงบรรยาย

  37. กระบวนการในการวางระบบฯ ในระดับสำนัก / กอง และระดับบุคคล ขอบเขตการดำเนินงาน ร่วมจัดทำระบบการบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ และตัวชี้วัดผลการดำเนินงานในระดับบุคคล ร่วมจัดทำระบบการบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ และตัวชี้วัดผลการดำเนินงานใน ระดับสำนัก/กอง ยืนยันระบบการบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ และตัวชี้วัดผลการดำเนินงานหลักใน ระดับสำนักงานฯ จัดทำความเชื่อมโยงของตัวชี้วัดผลการดำเนินงานในทุกระดับ ให้คำปรึกษาและร่วมจัดทำรายละเอียดของตัวชี้วัด ให้คำปรึกษาและร่วมจัดทำแบบฟอร์มการเก็บข้อมูลตัวชี้วัดผลการดำเนินงาน จัดทำแบบฟอร์มและแนวทางในการจัดทำรายละเอียดหน้าที่งาน จัดทำรูปแบบรายงานผลและการวิเคราะห์ผลการปฏิบัติงานตามตัวชี้วัด ถ่ายทอดและสร้างความเข้าใจหลักการและแนวคิด

  38. กระบวนการในการวางระบบฯ ในระดับสำนัก / กอง และระดับบุคคล ขั้นตอนการจัดทำตัวชี้วัดระดับบุคคล ขั้นที่ 1: การยืนยันในระบบบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ ขั้นที่ 2: การเชื่อมโยงความสัมพันธ์ระหว่างประเด็นที่จะวัดและตัวชี้วัดจากระดับกรม สู่ระดับ สำนัก /กอง ขั้นที่ 3: กำหนดประเด็นที่จะวัดและตัวชี้วัดระดับ สำนัก/กองพร้อมทั้งรายละเอียดของตัวชี้วัด ขั้นที่ 4: การยืนยันใน Job Families และ Job Description ในระดับบุคคล ขั้นที่ 5: กำหนดประเด็นที่จะวัดและตัวชี้วัดในระดับบุคคล พร้อมทั้งรายละเอียดของตัวชี้วัด

  39. ร้อยละของหน่วยงานของรัฐที่สามารถลดขั้นตอนและระยะเวลาการปฏิบัติราชการเพื่อให้บริการประชาชนลงร้อยละของหน่วยงานของรัฐที่สามารถลดขั้นตอนและระยะเวลาการปฏิบัติราชการเพื่อให้บริการประชาชนลง ระดับความสำเร็จของการพัฒนาระบบบริการผ่านทางระบบอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยงาน ผลลัพธ์: หน่วยราชการสามารถลดขั้นตอนและระยะเวลาลงได้ โดยเฉลี่ยร้อยละ30 ขึ้นไป สถาบัน GG กำหนดมาตรการ หลักเกณฑ์ และแนวทางในการลดขั้นตอน ผลักดันและส่งเสริมให้หน่วยราชการลดขั้นตอน โดยรับผิดชอบในด้านหลักเกณฑ์และแนวทาง ติดตามและประเมินผลสำเร็จในการลดขั้นตอนของหน่วยงาน ผลลัพธ์ : ประชาชนได้ใช้บริการผ่านทางระบบอิเล็กทรอนิกส์ โครงสร้าง ผลักดันและส่งเสริมให้หน่วยราชการลดขั้นตอน (รายกรมและกระทรวง) โดยรับผิดชอบในด้านรายละเอียดเกี่ยวกับเนื้องาน (function expert) OS Matrix Role Result Matrix Result Chart จัดหาและกำกับดูแลการติดตั้งInfrastructure และ Application จัดทำระบบให้บริการผ่านระบบ call center และ web-site ให้ข้อมูลในส่วนที่เป็นความรับผิดชอบของหน่วยงาน ภูมิภาค ผลักดันและส่งเสริมให้หน่วยราชการลดขั้นตอน โดยการสนับสนุน Area Officer (รายจังหวัด) ติดตาม ประเมินผลสัมฤทธิ์จากการลดขั้นตอนในภาพรวมจากหน่วยงาน โดยประเมินจากประชาชนและผู้รับบริการหลังจากที่ได้นำแนวทางในการลดขั้นตอนไปปฏิบัติ เผยแพร่ เผยแพร่และประชาสัมพันธ์ให้กับหน่วยราชการและประชาชน รับทราบ มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการลดขั้นตอน สลธ. ทุกหน่วยงาน เผยแพร่ กฎหมาย ให้คำปรึกษาและประสานการแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับกฎหมายที่เป็นอุปสรรคตามข้อเสนอของส่วนราชการ (เฉพาะในบางหน่วยงานเท่านั้น) วิจัยและพัฒนา สลธ. สนับสนุนการเบิกจ่ายงบประมาณ กพร.น้อย ขั้นที่ 1: การยืนยันในระบบบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ ขั้นที่ 2: การเชื่อมโยงความสัมพันธ์ระหว่างประเด็นที่จะวัดและตัวชี้วัดจากระดับกรม สู่ระดับ สำนัก /กอง

  40. ตัวอย่าง OS Matrix

  41. ตัวอย่าง Role Result Matrix ร้อยละของหน่วยงานของรัฐที่สามารถลดขั้นตอนและ ระยะเวลาการปฏิบัติราชการเพื่อให้บริการประชาชนลง

  42. ตัวอย่าง Result Chart KPI ร้อยละของประชาชนที่รับรู้ว่ามีการพัฒนาระบบราชการ ผลลัพธ์ : ประชาชนรับรู้ว่ามีการพัฒนาระบบราชการ เผยแพร่ สร้างความรู้ความเข้าใจการพัฒนาระบบราชการกับประชาชน (ทุกกลุ่มภารกิจให้ข้อมูลในส่วนของเนื้อหาแก่เผยแพร่) (การเผยแพร่ข้อมูลเฉพาะเรื่อง ภารกิจนั้นๆจะเป็นผู้รับผิดชอบ) จัดทำแบบสอบถาม (ทุกกลุ่มภารกิจให้ข้อมูลในส่วนของเนื้อหา) สำรวจ การรับรู้ของประชาชน (pre survey) สำรวจ การรับรู้ของประชาชน ภารกิจเผยแพร่ ร่วมกับ ทุกภารกิจ ภารกิจประเมินผล ภารกิจเผยแพร่ ร่วมกับ ทุกภารกิจ ภารกิจเผยแพร่

  43. ขั้นที่ 3: กำหนดประเด็นที่จะวัดและตัวชี้วัดระดับ สำนัก/กอง พร้อมทั้งรายละเอียดของตัวชี้วัด สิ่งที่จะวัด (What to Measure) ตัวชี้วัด (How to Measure) ระดับองค์กร ผลลัพธ์ที่ต้องการ: ประชาชนรับรู้ว่ามีการพัฒนาระบบราชการ ตัวชี้วัด: ร้อยละของประชาชนที่รับรู้ว่ามีการพัฒนาระบบราชการ ระดับหน่วยงาน เผยแพร่สร้างความรู้ ความเข้าใจให้กับประชาชน ร้อยละของประชาชนที่รับรู้ว่ามีการพัฒนาระบบราชการ

  44. ขั้นที่ 4:การยืนยันใน Job Families และ Job Description ในระดับบุคคล ตัวอย่าง แบบฟอร์ม Job Families ตัวอย่าง แบบฟอร์ม Job Description

  45. ตัวชี้วัดของผู้บังคับบัญชาตัวชี้วัดของผู้บังคับบัญชา Job Description งานที่ได้รับมอบหมายเป็นพิเศษ วัตถุประสงค์และตัวชี้วัดระดับบุคคล Personal KPI ขั้นที่ 5: กำหนดประเด็นที่จะวัดและตัวชี้วัดในระดับบุคคล พร้อมทั้ง รายละเอียดของตัวชี้วัด

  46. ตัวอย่าง ตัวชี้วัด ผู้รับผิดชอบ และน้ำหนักคะแนน เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด ผู้รับผิดชอบ ศก. สลก. สกส. สบค. สพช. สวป. สจช. สสช. สบศ. สสศ.

  47. ความหมายของตัวชี้วัด - ผู้รับบริการกลุ่มเป้าหมาย หมายถึง จังหวัดและกลุ่มพัฒนาระบบบริหารในจังหวัด - องค์กรต้นแบบของการพัฒนาระบบราชการ หมายถึงการทำงานแบบ Matrix ของ area officer วัตถุประสงค์ของตัวชี้วัด สำนักงาน ก.พ.ร. เป็นองค์กรต้นแบบของการพัฒนาระบบราชการ สูตรในการคำนวณ (จำนวนผู้รับบริการกลุ่มเป้าหมายที่เห็นว่าสำนักงาน ก.พ.ร. เป็นองค์กรต้นแบบของการพัฒนาระบบราชการในด้านการทำงานแบบ Matrix/ จำนวนผู้รับบริการกลุ่มเป้าหมายทั้งหมดที่ตอบแบบสำรวจ) x 100 หน่วยที่วัด ร้อยละ น้ำหนัก - ความถี่ในการเก็บข้อมูลและรายงาน ทุก 1 ปี กระบวนการจัดเก็บข้อมูล ภารกิจการติดตามและประเมินผลจ้างหน่วยงานภายนอกสำรวจ ผู้จัดเก็บข้อมูล คุณวิลาวัลย์ ผู้ตั้งเป้าหมาย เลขาธิการ ก.พ.ร. ผู้รับผิดชอบตัวชี้วัด ผู้อำนวยการภารกิจการพัฒนาระเบียบราชการส่วนภูมิภาคฯ ข้อมูลปีฐาน - เป้าหมาย (ปีงบประมาณ 47) ร้อยละ... ในตัวชี้วัดทุกตัว และทุกระดับ จะมีการจัดทำรายละเอียดของตัวชี้วัด (KPI Template) ตัวอย่าง เช่น ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้รับบริการกลุ่มเป้าหมายที่เห็นว่า สำนักงาน ก.พ.ร. เป็นองค์กรต้นแบบของการพัฒนาระบบราชการ

  48. ตัวอย่าง รายละเอียดตัวชี้วัด (Measurement Template) ตัวชี้วัด: จำนวนครั้งในการจัดฝึกอบรมบุคลากรในวิทยาการ/ความรู้ใหม่ • การจัดฝึกอบรมบุคลากรในวิทยาการ/ความรู้ใหม่ เป็นการอบรมให้แก่บุคลากรภายในหน่วยงาน • บุคลากรภายในหน่วยงาน หมายถึง ข้าราชการ ลูกจ้างประจำ และลูกจ้างชั่วคราว

  49. ตัวอย่าง ตารางการจัดเก็บข้อมูลตัวชี้วัด ตัวชี้วัด: จำนวนครั้งในการจัดฝึกอบรมบุคลากรในวิทยาการ/ความรู้ใหม่ • การจัดฝึกอบรมบุคลากรในวิทยาการ/ความรู้ใหม่ เป็นการอบรมให้แก่บุคลากรภายในหน่วยงาน • บุคลากรภายในหน่วยงาน หมายถึง ข้าราชการ ลูกจ้างประจำ และลูกจ้างชั่วคราว

  50. ตัวอย่างของกรมคุมประพฤติ กลุ่มภารกิจพัฒนาพฤตินิสัย กระทรวงยุติธรรม โดยดูความเชื่อมโยงระหว่างเป้าประสงค์ ตัวชี้วัด กลยุทธ์ โครงการ แนวทางในการพัฒนาระบบประเมินผลลงสู่กลุ่มภารกิจ ระดับกระทรวง -ยืนยันแผนยุทธศาสตร์ของ กระทรวงยุติธรรมและ กลุ่มภารกิจพัฒนาพฤตินิสัย - ร่วมจัดทำระบบประเมินผล ในระดับกลุ่มภารกิจของกลุ่ม ภารกิจพัฒนาพฤตินิสัย * แผนที่กลยุทธ์ (Strategy Map) * เป้าประสงค์ (Goal) * ตัวชี้วัด (KPI) เป้าประสงค์และตัวชี้วัดในระดับกระทรวง ระดับกลุ่มภารกิจ บทบาท หน้าที่ และ ภารกิจของกลุ่มภารกิจ ที่สนับสนุนต่อ เป้าประสงค์และตัวชี้วัด ในระดับกระทรวง บทบาท หน้าที่ และภารกิจ ของกลุ่มภารกิจ เป้าประสงค์ ในระดับกลุ่มภารกิจ ตัวชี้วัดในระดับกลุ่มภารกิจ

More Related