291 likes | 1.42k Views
การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ สำหรับแม่ทำงานนอกบ้าน ในคลินิกนมแม่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ศูนย์อนามัยที่10 เชียงใหม่. ลำดับเหตุการณ์ที่สำคัญ. รพ.แม่และเด็ก ได้รับการประเมินเป็น รพ. สายสัมพันธ์แม่-ลูก 1 ใน 5 ของ ประเทศ WHO ใช้ เกณฑ์ 24 hours recall breastfeeding
E N D
การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ สำหรับแม่ทำงานนอกบ้าน ในคลินิกนมแม่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ศูนย์อนามัยที่10 เชียงใหม่
ลำดับเหตุการณ์ที่สำคัญลำดับเหตุการณ์ที่สำคัญ • รพ.แม่และเด็ก ได้รับการประเมินเป็น • รพ. สายสัมพันธ์แม่-ลูก 1 ใน 5 ของ ประเทศ • WHO ใช้ เกณฑ์ 24 hours recall breastfeeding • เปลี่ยนเกณฑ์ Exclusive breastfeeding • จาก 4 เดือน เป็น 6 เดือน • เริ่มพัฒนาโปรแกรมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ • สำหรับแม่ทำงานนอกบ้าน
อัตราการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวในปี พ.ศ. 2538-2543
ปัจจัยสำคัญที่ทำให้แม่ไม่ประสบความสำเร็จปัจจัยสำคัญที่ทำให้แม่ไม่ประสบความสำเร็จ ในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวใน 4 เดือน 1. ภาวะแทรกซ้อน ได้แก่ แม่เต้านมคัด, หัวนมเจ็บแตก, น้ำนมแม่หลั่งน้อย, เต้านมอักเสบ/เป็นฝี แม่ไม่มีความมั่นใจว่ามีปริมาณน้ำนมเพียงพอให้ลูก 2.แม่ทำงานนอกบ้าน
แนวคิดสำคัญ ถึงแม้แม่ทำงานนอกบ้านก็สามารถเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ได้ ทีมงานคลินิกนมแม่ได้นำแนวคิดสำคัญนี้มาเป็นแนวทางพัฒนา โปรแกรมฝึกและเตรียมความพร้อม สำหรับแม่ทำงานนอกบ้าน
สัปดาห์ที่ 1 การฝึกปฎิบัติการบีบ-เก็บ ตุน น้ำนมแม่ สัปดาห์ที่ 2 การฝึกลูกดื่มนมแม่จากแก้วโดยเจ้าหน้าที่ สัปดาห์ที่3 • การเตรียมลูกให้คุ้นเคยกับผู้เลี้ยงดู • เตรียมผู้เลี้ยงลูก ป้อนนมลูกด้วยแก้ว สัปดาห์ที่ 4 เตรียมแม่ไปทำงาน
คลินิกนมแม่ได้นำรูปแบบดังกล่าวมาจัดทำเป็นโปรแกรมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่สำหรับแม่ทำงานนอกบ้าน และขยายผลสำหรับมารดาในคลินิกนมแม่ ผลการดำเนินงาน
คลินิกนมแม่เชิงรุกการส่งเสริมสนับสนุนการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ในสถานทีทำงาน การจัดมุมนมแม่ในโรงเรียนวชิรวิทย์ ทีมงานการส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ แนะนำการจัดตั้งมุมนมแม่
มุมนมแม่ในโรงเรียนวชิรวิทย์มุมนมแม่ในโรงเรียนวชิรวิทย์ ทำให้เกิดวิถี และวัฒนธรรม การเลี้ยงลูก ด้วยนมแม่ ในโรงเรียน
การศึกษากลุ่มทารก 658 รายที่มีอายุ≥ 6 เดือนที่คลอด และมารับบริการที่รพ.ส่งเสริมสุขภาพในช่วง 21 ก.ย. 49 – 20 ธ.ค. 50 จำนวนทารกที่ประสบความสำเร็จได้รับนมแม่เป็นอาหารเพียงอย่างเดียว 6 เดือนร้อยละ 40.6 จำนวนทารกที่ได้รับอาหารอื่น/น้ำร่วมกับนมแม่เป็นอาหารในช่วง 6 เดือนแรก ร้อยละ 59.4
ปัจจัยที่ทำให้แม่ไม่ประสบผลสำเร็จการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว 6 เดือน
การวิเคราะห์ผลความสำเร็จของการดำเนินงานการวิเคราะห์ผลความสำเร็จของการดำเนินงาน 1. แม่เข้าโปรแกรมครบทุกขั้นตอน 2. แม่มีความตั้งใจจริง และเชื่อมั่นในความสามารถของเจ้าหน้าที่ 3. แม่เข้าโปรแกรมก่อนไปทำงานอย่างน้อย 1 เดือน 4. เจ้าหน้าที่มี ความรู้ ความชำนาญ และความเชื่อมั่นในตัวเอง 5. มีระบบติดตามที่ดี มีการติดตามอย่างเป็นระบบ และต่อเนื่อง เมื่อแม่มีปัญหาต้องให้คำปรึกษาและความช่วยเหลือได้ทันท่วงที
ปัจจัยสำคัญที่มีผลต่อความสำเร็จและความล้มเหลวปัจจัยสำคัญที่มีผลต่อความสำเร็จและความล้มเหลว 1. ปัจจัยด้านแม่ ความรักและผูกพันต่อลูก ทัศนคติที่ดีต่อนมแม่ และมีความเชื่อมั่นในตัวเอง 2. ปัจจัยด้านครอบครัวและสังคม ได้รับการสนับสนุนจากครอบครัวและสังคม 3. ปัจจัยด้านที่ทำงาน การอำนวยความสะดวก โดยเฉพาะอย่างยิ่งคือ การมีนมแม่ในที่ทำงาน 4. ปัจจัยด้านสถานบริการและบุคลากร มีการติดตามอย่างเป็นระบบ และให้ความช่วยเหลือทันท่วงที เจ้าหน้าที่มีความรู้ ความชำนาญ และความมั่นใจในตัวเอง
แผนการพัฒนางาน 1. ปรับปรุงรูปแบบการบริการ โดยการคัดกรองและเตรียมมารดาที่ทำงานนอกบ้านตั้งแต่ช่วงฝากครรภ์ นัดมารดาเข้าโปรแกรมตั้งแต่ 1 เดือนหลังคลอดเป็นอย่างช้า 2. ประสานการดูแลที่ต่อเนื่องในหน่วยงานที่เกี่ยวข้องคือ ANC, PP, FP , WCC 3. กำหนดแนวทางการสนับสนุนให้เกิดมุมนมแม่ในสถานประกอบการ 4. พัฒนารูปแบบบริการสำหรับแม่ทำงานนอกบ้าน สำหรับแม่ที่ลางานได้ 45 วัน และ 60 วัน
การพัฒนารูปแบบบริการเพื่อการถ่ายทอดการพัฒนารูปแบบบริการเพื่อการถ่ายทอด • การทำน้ำนมแม่ให้คงอยู่กรณีแม่-ลูกต้องแยกจากกัน เช่น ทารกน้ำหนักน้อย ลูกป่วย • การทำน้ำนมแม่ที่แห้งแล้วให้กลับคืนมา • การส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ในทารกปากแหว่งเพดานโหว่ • การให้การดูแลทารกที่มีภาวะลิ้นติด (tongue tie) • เป็นผู้เริ่มต้นในการดูแลแม่ที่เต้านมเป็นฝีโดยไม่ต้องผ่าฝี • คลินิกนมแม่เชิงรุก ได้แก่ การจัดตั้งชมรมนมแม่ในโรงพยาบาล มุมนมแม่ในโรงเรียน มุมนมแม่ในสถานประกอบการ การส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ในราชทัณฑ์ การมีส่วนร่วมในการจัดตั้งชมรมสายใยรักแห่งครอบครัวตำบลป่าแดด จ. เชียงใหม่ และตำบลบ้านแป้น จ.ลำพูน • ปัจจุบันเป็น Training center การส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่สำหรับ เจ้าหน้าที่สาธารณสุขและนักศึกษาแพทย์และพยาบาล
ขอขอบคุณ • พญ. กรรณิการ์ บางสายน้อย • คุณ วไล เชตะวัน • และ ทีมงานคลินิกนมแม่ ศูนย์อนามัยที่ 10 เชียงใหม่