540 likes | 873 Views
หลักสูตรผู้นำการเปลี่ยนแปลง : การนำการเปลี่ยนแปลงสู่ห้องเรียนคุณภาพ ( Quality Classroom ). โดย ..นายพายุพงศ์ พายุหะ ครูชำนาญการพิเศษ สพท.รอ. ๒. 1.วัตถุประสงค์.
E N D
หลักสูตรผู้นำการเปลี่ยนแปลง: การนำการเปลี่ยนแปลงสู่ห้องเรียนคุณภาพ(Quality Classroom) โดย..นายพายุพงศ์ พายุหะ ครูชำนาญการพิเศษ สพท.รอ. ๒
1.วัตถุประสงค์ • ครูสามารถพัฒนาตนเองด้านการออกแบบและจัดการการจัดการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ • 2. ครูสามารถนำการเปลี่ยนแปลงได้
2.เป้าหมาย รร.จันทรุฯ 1. ครูได้รับการพัฒนาเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลงทุกคน ( 100 % ) 2. ครูทุกคนที่ผ่านกระบวนการพัฒนา มีแผนพัฒนาตนเอง (ID Plan)
3.เจตนารมน์ของเลขาธิการ กพฐ. • ครูมีความตระหนัก มีความรู้และความเข้าใจในภาพรวมของหลักสูตรผู้นำการเปลี่ยนแปลงสำหรับครู • (พบ คุณหญิงกษมา วรวรรณ ณ อยุธยา ผ่านVCD)
4.ภาพรวมของหลักสูตรผู้นำการเปลี่ยนแปลง4.ภาพรวมของหลักสูตรผู้นำการเปลี่ยนแปลง 1.ครูผู้นำการเปลี่ยนแปลง 2. การวิจัยในชั้นเรียน(CAR) 3. ICT ในห้องเรียน 4. การออกแบบการเรียนรู้อิงมาตรฐาน 5. วินัยเชิงบวก (Positive Discipline)
5. ความคาดหวังของห้องเรียนคุณภาพ หลักสูตร กิจกรรมสนับสนุน เครือข่าย 5 นิ้ว/ฝ่ามือ แหล่งเรียนรู้ ออกแบบการจัดการ เรียนรู้อิงมาตรฐาน Positive Discipline ICT ห้องเรียน ICT โรงเรียน CAR ครูผู้นำการเปลี่ยนแปลง ผู้บริหารผู้นำการเปลี่ยนแปลง Inside out Outside in การวางแผนพัฒนาตนเอง (ID Plan) ศึกษาวิเคราะห์ต้นทุนการจัดการศึกษาเดิมของแต่ละโรงเรียน(Based-Line) ห้องเรียน คุณภาพ ยกระดับคุณภาพการศึกษา
ดัชนีตัวชี้วัด 1.ครูผู้นำการเปลี่ยนแปลง 2. การวิจัยในชั้นเรียน(CAR) 3. ICT ในห้องเรียน 4. การออกแบบการเรียนรู้อิงมาตรฐาน 5. วินัยเชิงบวก (Positive Discipline)
1. การนำการเปลี่ยนแปลงสู่ห้องเรียนฯ ดัชนีตัวชี้วัด(1) ความรู้(Knowledge :K) - ครูมีความรู้ในเรื่องแนวคิดในการเปลี่ยนแปลง - ครูมีความรู้ในเรื่องการจัดการเรียนรู้ที่เปลี่ยนแปลง - ครูมีความรู้ในเรื่องการจัดการห้องเรียนที่มีประสิทธิภาพ - ครูมีความรู้ในเรื่องห้องเรียนคุณภาพ
1. การนำการเปลี่ยนแปลงสู่ห้องเรียนฯ(ต่อ) ดัชนีตัวชี้วัด (ต่อ)(2) ผลการปฏิบัติ(Performance :P) - ครูมีแผนพัฒนาตนเองและผลงานอย่างสร้างสรรค์ (3) ตัวชี้วัด(Indicator : I) - ครูมีความตื่นตัวในการสร้างสรรค์ ทุ่มเททำงานอย่างสุดชีวิตจิตใจ -ครูมีแผนพัฒนาตนเอง ร่วมมือกันทำงานและผลงานอย่างสร้างสรรค์
2. CAR เพื่อนำการเปลี่ยนแปลง ดัชนีตัวชี้วัด(1) ความรู้(Knowledge :K) - การจัดทำ ID Plan - การวิจัยในชั้นเรียน (2) ผลการปฏิบัติงาน(Performance : P) –ปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรู้ของตนเอง -รายงานการพัฒนาตนเองและนักเรียน
2. CAR เพื่อนำการเปลี่ยนแปลง (ต่อ) ดัชนีตัวชี้วัด (ต่อ)(3) ตัวชี้วัด (Indicator :I) - ใช้ CARพัฒนาตนเองและนักเรียน - มีเพื่อสะท้อนความคิด
3. ICT ในห้องเรียน ดัชนีตัวชี้วัด(1) ความรู้(Knowledge :K) - การใช้ ICT เพื่อพัฒนาการเรียนการสอน (2) ผลการปฏิบัติงาน(Performance : P) – การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนใช้หรือทำสื่อ ICT - มี e-mail และเผยแพร่งานทาง Web site
3. ICT ในห้องเรียน (ต่อ) ดัชนีตัวชี้วัด (ต่อ)(3) ตัวชี้วัด(Indicator :I) - มีแผนการพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่มีการใช้ ICT หรือการบูรณาการสาระวิชาต่างๆอย่างหลากหลาย
4. การออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐาน ดัชนีตัวชี้วัด(1) ความรู้(Knowledge :K) - ครูออกแบบหน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐาน รูปแบบ Backward Design – ผู้บริหารนิเทศ Coach การจัดกิจกรรมเรียนรู้
4. การออกแบบการจัดการเรียนรู้ฯ (ต่อ) ดัชนีตัวชี้วัด (ต่อ)(2) ผลการปฏิบัติ(Performance :P) - ออกแบบหน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐาน เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ – รายงานผลการพัฒนาผู้เรียนด้วยระดับคุณภาพ (3) ตัวชี้วัด (Indicator : I) - นักเรียนมีผลงาน ชิ้นงานที่สะท้อนคุณภาพการคิดระดับสูง
5. การสร้างวินัยเชิงบวกในห้องเรียน ดัชนีตัวชี้วัด(1) ความรู้(Knowledge :K) - ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน - การสร้างวินัยเชิงบวก (2) ผลการปฏิบัติงาน(Performance : P) – จัดการพัฒนานักเรียนในชั้นอย่างเป็นระบบ
5. การสร้างวินัยเชิงบวกในห้องเรียน (ต่อ) ดัชนีตัวชี้วัด (ต่อ)(3) ตัวชี้วัด(Indicator :I) - ครูมีพฤติกรรมเชิงบวก จัดระบบการพัฒนานักเรียนอย่างเป็นระบบ เป็นองค์รวม ทั้งร่างกาย สติปัญญา สังคม และอารมณ์
รายละเอียด ของเนื้อหาในแต่ละเรื่อง 1. ชื่อเรื่อง 2. สาระสำคัญ 3. วัตถุประสงค์ 4. กิจกรรม 5. สื่อและอุปกรณ์ 6. การวัดและประเมินผล 7. สิ่งอำนวยความสะดวก 8. ดัชนีตัวชี้วัด (KPI)
1. การนำการเปลี่ยนแปลงสู่ห้องเรียนคุณภาพ 1.1 สาระสำคัญ - แนวคิดในการเปลี่ยนแปลง - การจัดการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ - การจัดการห้องเรียนที่มีประสิทธิภาพ - ห้องเรียนที่มีคุณภาพ
1. การนำการเปลี่ยนแปลงสู่ห้องเรียนฯ(ต่อ) 1.2 วัตถุประสงค์ - เพื่อให้ครูได้รับแนวทาง การเปลี่ยนแปลงสู่ห้องเรียนคุณภาพ
1. การนำการเปลี่ยนแปลงสู่ห้องเรียนฯ(ต่อ) 1.3 กิจกรรม (1) วิทยากรให้หลักการ โดยใช้ PPT (2) ปฏิบัติงานกลุ่ม (3) นำเสนอ (4) สรุปแนวคิด
1. การนำการเปลี่ยนแปลงสู่ห้องเรียนฯ(ต่อ) 1.4 สื่อและอุปกรณ์(1) เอกสารประกอบการนำเสนอ ประกอบด้วย - สำเนา PPT(หน้าละ 3 เฟรม) และใบกรณีศึกษา (2) กระดาษ A4 (3) กระดานมีขาตั้ง สำหรับรองเขียนกระดาษฟลิบ-ชาร์ท ปากกาเคมีสีดำและน้ำเงิน กลุ่มละ 2 ด้าม
1. การนำการเปลี่ยนแปลงสู่ห้องเรียนฯ(ต่อ) 1.5 การวัดและประเมินผล(1) สังเกตการเข้าร่วมกิจกรรม (2) ผลงานการปฏิบัติกิจกรรม
1. การนำการเปลี่ยนแปลงสู่ห้องเรียนฯ(ต่อ) 1.6 สิ่งอำนวยความสะดวก(1) แบ่งสมาชิกให้เข้ากลุ่มโดยคละโรงเรียน กลุ่มละไม่เกิน 10 คน - แจ้งรายชื่อให้สมาชิกในแต่ละกลุ่มให้ทุกคนทราบ - จัดสถานที่พร้อมอุปกรณ์ก่อนเวลาการอบรม - กำหนดชื่อผู้อำนวยความสะดวกแต่ละกลุ่มพบวิทยากรตามเวลาที่กำหนด (ผู้อำนวยความสะดวกคือผู้มีบุคลิกคล่องแคล่วและนำการประชุมได้)
1. การนำการเปลี่ยนแปลงสู่ห้องเรียนฯ(ต่อ) 1.7 ดัชนีตัวชี้วัด(1) ความรู้(Knowledge :K) - ครูมีความรู้ในเรื่องแนวคิดในการเปลี่ยนแปลง - ครูมีความรู้ในเรื่องการจัดการเรียนรู้ที่เปลี่ยนแปลง - ครูมีความรู้ในเรื่องการจัดการห้องเรียนที่มีประสิทธิภาพ - ครูมีความรู้ในเรื่องห้องเรียนคุณภาพ
1. การนำการเปลี่ยนแปลงสู่ห้องเรียนฯ(ต่อ) 1.7 ดัชนีตัวชี้วัด (ต่อ) (2) ผลการปฏิบัติ(Performance :P) - ครูมีแผนพัฒนาตนเองและผลงานอย่างสร้างสรรค์ (3) ตัวชี้วัด(Indicator : I) - ครูมีความตื่นตัวในการสร้างสรรค์ ทุ่มเททำงานอย่างสุดชีวิตจิตใจ -ครูมีแผนพัฒนาตนเอง ร่วมมือกันทำงานและผลงานอย่างสร้างสรรค์
2. CAR เพื่อนำการเปลี่ยนแปลง 2.1 สาระสำคัญ -โปรแกรม CARเพื่อนำการเปลี่ยนแปลงตนเองของครู (1) CAR 1การวิเคราะห์ผู้เรียนรายบุคคล (2) CAR 2การประเมินเพื่อพัฒนาการจัดการเรียนรู้ (3) CAR 3กรณีศึกษานักเรียนและกรณีศึกษา การเปลี่ยนแปลงตนเองของครู (4) CAR 4การวิจัยและพัฒนานวัตกรรมการจัดการเรียนรู้
2.2 วัตถุประสงค์ 2.3 กิจกรรม 2.4 สื่อและอุปกรณ์ 2.5 การวัดและประเมินผล 2.6 สิ่งอำนวยความสะดวก
2.7 ดัชนีตัวชี้วัด(1) ความรู้(Knowledge :K) - การจัดทำ ID Plan - การวิจัยในชั้นเรียน (2) ผลการปฏิบัติงาน(Performance : P) –ปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรู้ของตนเอง -รายงานการพัฒนาตนเองและนักเรียน
2.7 ดัชนีตัวชี้วัด (ต่อ) (3) ตัวชี้วัด (Indicator :I) - ใช้ CARพัฒนาตนเองและนักเรียน - มีเพื่อสะท้อนความคิด
3. ICT ในห้องเรียน 3.1 สาระสำคัญ - ความหมาย ICT - ผู้นำ ICT ทำอย่างไร - เราใช้ ICT อย่างไร – ผู้นำการเปลี่ยนแปลงด้าน ICT
3.2 วัตถุประสงค์ 3.3 กิจกรรม 3.4 สื่อและอุปกรณ์ 3.5 การวัดและประเมินผล 3.6 สิ่งอำนวยความสะดวก
3.7 ดัชนีตัวชี้วัด(1) ความรู้(Knowledge :K) - การใช้ ICT เพื่อพัฒนาการเรียนการสอน (2) ผลการปฏิบัติงาน(Performance : P) – การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนใช้หรือทำสื่อ ICT - มี e-mail และเผยแพร่งานทาง Web site
3.7 ดัชนีตัวชี้วัด (ต่อ) (3) ตัวชี้วัด(Indicator :I) - มีแผนการพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่มีการใช้ ICT หรือการบูรณาการสาระวิชาต่างๆอย่างหลากหลาย
4. การออกแบบการจัดการเรียนรู้ที่อิงมาตรฐาน 4.1 สาระสำคัญ- แนวการออกแบบการเรียนรู้อิงมาตรฐาน - ออกแบบการเรียนรู้แบบย้อนกลับ - การกำหนดเป้าหมายการเรียนรู้เป็นความเข้าใจคงทน – การประเมินผลที่สะท้อนมาตรฐานการเรียนรู้ที่เน้นการประเมินสภาพจริง
4. การออกแบบการจัดการเรียนรู้ที่อิงมาตรฐาน 4.1 สาระสำคัญ (ต่อ) - การกำหนดชิ้นงาน/ภาระงาน - การกำหนดเกณฑ์การประเมิน - การประเมินคุณภาพผลงานของผู้เรียน/การคิด – การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้
4. การออกแบบการจัดการเรียนรู้ฯ (ต่อ) 4.2 วัตถุประสงค์ 4.3 กิจกรรม 4.4 สื่อและอุปกรณ์ 4.5 การวัดและประเมินผล 4.6 สิ่งอำนวยความสะดวก
4. การออกแบบการจัดการเรียนรู้ฯ (ต่อ) 4.7 ดัชนีตัวชี้วัด(1) ความรู้(Knowledge :K) - ครูออกแบบหน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐาน รูปแบบ Backward Design – ผู้บริหารนิเทศ Coach การจัดกิจกรรมเรียนรู้
4. การออกแบบการจัดการเรียนรู้ฯ (ต่อ) 4.7 ดัชนีตัวชี้วัด (ต่อ) (2) ผลการปฏิบัติ(Performance :P) - ออกแบบหน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐาน เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ – รายงานผลการพัฒนาผู้เรียนด้วยระดับคุณภาพ (3) ตัวชี้วัด (Indicator : I) - นักเรียนมีผลงาน ชิ้นงานที่สะท้อนคุณภาพการคิดระดับสูง
5. การสร้างวินัยเชิงบวกในห้องเรียน 5.1 สาระสำคัญ 5.2 วัตถุประสงค์ 5.3 กิจกรรม 5.4 สื่อและอุปกรณ์ 5.5 การวัดและประเมินผล 5.6 สิ่งอำนวยความสะดวก
5. การสร้างวินัยเชิงบวกในห้องเรียน (ต่อ) 5.7 ดัชนีตัวชี้วัด(1) ความรู้(Knowledge :K) - ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน - การสร้างวินัยเชิงบวก (2) ผลการปฏิบัติงาน(Performance : P) – จัดการพัฒนานักเรียนในชั้นอย่างเป็นระบบ
5. การสร้างวินัยเชิงบวกในห้องเรียน (ต่อ) 5.7 ดัชนีตัวชี้วัด (ต่อ) (3) ตัวชี้วัด(Indicator :I) - ครูมีพฤติกรรมเชิงบวก จัดระบบการพัฒนานักเรียนอย่างเป็นระบบ เป็นองค์รวม ทั้งร่างกาย สติปัญญา สังคม และอารมณ์
การประชุมปฏิบัติการวางแผนการประชุมปฏิบัติการวางแผน 3.1 เป้าหมายการพัฒนาครูในจังหวัด โดยพาทำ 3.2 ข้อเสนอแนะ, แนวคิดในการทำแผน 1) Base line ของแต่ละโรงเรียน - ผลสัมฤทธิ์ของนักเรียน - NT, PISSA, การประเมินผลของ สมศ. - ประเภทโรงเรียน - จำนวนนักเรียน, ครู 2) การวิเคราะห์บริบท และสภาพปัจจุบันของโรงเรียน 3) สาระเนื้อหาหลักสูตร หาแนวทางพัฒนาต่อยอด 3.3 การนำเสนอ (ในกิจกรรม) เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้
วิธีการเรียนรู้ • ได้การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ • การนำเสนอผลการปฏิบัติงาน • การสรุปแนวคิด
แนวคิด การเปลี่ยนแปลงจะเกิดขึ้นได้มีหลายปัจจัย ได้แก่ ความรู้ ความเชื่อ ความกล้าและ การทำงานอย่างเป็นระบบ
ความคาดหวังของห้องเรียนคุณภาพความคาดหวังของห้องเรียนคุณภาพ ยกระดับคุณภาพการศึกษา กิจกรรมสนับสนุน แหล่งเรียนรู้ เครือข่าย 5 นิ้ว/ฝ่ามือ หลักสูตร ออกแบบการจัดการ เรียนรู้อิงมาตรฐาน Positive Discipline ห้องเรียน คุณภาพ ครูผู้นำการเปลี่ยนแปลง ICT ห้องเรียน ผู้บริหารผู้นำการเปลี่ยนแปลง ICT โรงเรียน Inside out Inside in CAR การวางแผนพัฒนาตนเอง (ID Plan) ศึกษาวิเคราะห์ต้นทุนการจัดการศึกษาเดิมของแต่ละโรงเรียน (Based-Line)
แนวคิด โรงเรียน เป็น ชีวิตของเด็ก ครู และผู้บริหาร"ห้องเรียน คือ ชีวิตของเด็กและการทำงานของครู""ห้องเรียนคุณภาพ น่าจะเป็นสื่อที่ดีทีจะสะท้อนไปยัง นักเรียน ครู และผู้บริหาร"
มีจิตวิญญาณ ( Spirit ) T = Team work ทำงานเป็นทีม R = Responsibility รับผิดชอบ A = Awaking ตื่นตัว กระตือรือร้น N = Nicety ระมัดระวัง G = Good Governance ธรรมาภิบาล