310 likes | 598 Views
ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. ยินดีต้อนรับ. อาคาร SC 3 ที่ตั้งของภาควิชาชีววิทยา. เปิดสอนหลักสูตร 4 หลักสูตร. ปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต วท.บ. (ชีววิทยา) ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต วท.ม. (ชีววิทยา) ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต วท.ม. (ชีววิทยาครู)
E N D
ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์มหาวิทยาลัยขอนแก่น ยินดีต้อนรับ
อาคาร SC 3 ที่ตั้งของภาควิชาชีววิทยา
เปิดสอนหลักสูตร 4 หลักสูตร • ปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต วท.บ. (ชีววิทยา) • ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต วท.ม. (ชีววิทยา) • ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต วท.ม. (ชีววิทยาครู) • ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต ปร.ด. (ชีววิทยา)
ปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต วท.บ. (ชีววิทยา) • หลักสูตร 4 ปี รับนักศึกษาประมาณปีละ 90 คน • รับตรง (โควตา) • แอดมิชชัน • โครงการพิเศษ (พสวท.) อื่นๆ • เน้นการศึกษาทางด้านชีววิทยาทั่วไป พฤกษศาสตร์ สัตววิทยา พันธุศาสตร์ และวิชาเลือกในสาขาที่สนใจ • 135 หน่วยกิต
ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต วท.ม. (ชีววิทยา) • หลักสูตร 2 ปี • รับนักศึกษาโดยการสอบคัดเลือก • ศึกษารายวิชาต่าง ๆ 21 หน่วยกิต และวิทยานิพนธ์ 15 หน่วยกิต • สาขาพฤกษศาสตร์ สัตววิทยา พันธุศาสตร์ ชีววิทยาระดับเซลล์และโมเลกุล และเทคโนโลยีชีวภาพ
ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต วท.ม. (ชีววิทยาครู) • หลักสูตร 3 ภาคการศึกษา • รับนักศึกษาโดยการสอบสัมภาษณ์ • ศึกษารายวิชาต่าง ๆ แผน ก 24 หน่วยกิต และวิทยานิพนธ์ 12 หน่วยกิต แผน ข ศึกษารายวิชาต่างๆ 32 หน่วยกิต การศึกษาอิสระ 4 หน่วยกิต • สาขาพฤกษศาสตร์ สัตววิทยา พันธุศาสตร์ ชีววิทยาระดับเซลล์และโมเลกุล และเทคโนโลยีชีวภาพ * รับเฉพาะผู้มีประสบการณ์สอนชีววิทยาอย่างน้อย 1 ปี
ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต ปร.ด. (ชีววิทยา) • หลักสูตร 3 ปี • รับนักศึกษาโดยการสอบคัดเลือก • ศึกษารายวิชาต่าง ๆ 12 หน่วยกิต และวิทยานิพนธ์ 36 หน่วยกิต • หรือศึกษาวิทยานิพนธ์อย่างเดียว 48 หน่วยกิต • สาขาพฤกษศาสตร์ สัตววิทยา พันธุศาสตร์ ชีววิทยาระดับเซลล์และโมเลกุล และเทคโนโลยีชีวภาพ
ผู้บริหารภาควิชา รศ.ดร.นฤมล แสงประดับ หัวหน้าภาควิชา
รศ.ดร.อำพา เหลืองภิรมย์ รองหัวหน้าภาควิชาฝ่ายบริหาร รศ.ดร.ปิยะดา ธีระกุลพิศุทธิ์ รองหัวหน้าภาควิชาฝ่ายวิชาการ ผศ.ดร.วัฒนา พัฒนากูล รองหัวหน้าภาควิชาฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ และประชาสัมพันธ์ นางอุราวรรณ ดีโยธา เลขานุการภาควิชาชีววิทยา
คณาจารย์ • ภาควิชาชีววิทยามีคณาจารย์ที่มีความเชี่ยวชาญในสาขาต่าง ๆ เช่นพฤกษศาสตร์ สัตววิทยา พันธุศาสตร์ ชีววิทยาโมเลกุล และเทคโนโลยีชีวภาพ รวม 37 คน
ห้องปฏิบัติการแพลงก์ตอนห้องปฏิบัติการแพลงก์ตอน
ห้องปฏิบัติการชีววิทยาแหล่งน้ำจืดห้องปฏิบัติการชีววิทยาแหล่งน้ำจืด
ห้องปฏิบัติการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชห้องปฏิบัติการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช
ห้องปฏิบัติการชีววิทยาระดับโมเลกุลห้องปฏิบัติการชีววิทยาระดับโมเลกุล
ห้องปฏิบัติการสรีรวิทยาของพืชห้องปฏิบัติการสรีรวิทยาของพืช
ห้องปฏิบัติการกายวิภาคศาสตร์ของพืชห้องปฏิบัติการกายวิภาคศาสตร์ของพืช
ห้องปฏิบัติการอนุกรมวิธานของพืชห้องปฏิบัติการอนุกรมวิธานของพืช
งานวิจัย • อนุกรมวิธานของพืชดอกและเฟิร์น • อนุกรมวิธานของสัตว์ แพลงก์ตอน และสาหร่าย • กายวิภาคศาสตร์เปรียบเทียบของพืช • เรณูของพืชดอก และสปอร์ของเฟิร์น • สรีรวิทยาของพืช สรีรวิทยาความเครียด และสรีรวิทยาของพืชหลังการเก็บเกี่ยว • สรีรวิทยาของสัตว์
งานวิจัย (ต่อ) • เซลล์พันธุศาสตร์ของพืชและสัตว์ • ชีววิทยาระดับโมเลกุลของพืชและสัตว์ • การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช และการทำเมล็ดเทียม • การส่งถ่ายยีนสู่พืช • พิษวิทยาและจุลพยาธิวิทยาของสัตว์น้ำ • นิเวศวิทยาแหล่งน้ำจืด
ศูนย์วิจัยอนุกรมวิธานประยุกต์ศูนย์วิจัยอนุกรมวิธานประยุกต์ • เป็นแหล่งศึกษาวิจัย และศูนย์ให้บริการเกี่ยวกับอนุกรมวิธานของพืชและเห็ดราท้องถิ่น โดยเฉพาะพืชสมุนไพร และละอองเรณู การตรวจหาลายพิมพ์ดีเอ็นเอ และโครโมโซม เพื่อใช้ประโยชน์กับผลิตผลการเกษตร การใช้ดัชนีทางชีววิทยา ในการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม
ความร่วมมือทางวิชาการกับต่างประเทศความร่วมมือทางวิชาการกับต่างประเทศ • สาขาอนุกรมวิธานพืช - Prof. Kai Larsen - Univ. of Aarhus, Denmark - Assoc. Prof. Simon Laegaard – Univ. of Aarhus, Denmark - Dr. David Simpson – Royal Botanic Garden, Kew, UK - Dr. Alan Paton – Royal Botanic Garden, Kew, UK - Dr. Robert B. Faden – Smithsonian Institute, Washington DC, USA
ความร่วมมือทางวิชาการกับต่างประเทศความร่วมมือทางวิชาการกับต่างประเทศ • สาขาสรีรวิทยาของพืช - Prof. Larry Boersma – Oregon State University, USA - Prof. Timothy Righetti – Oregon State University, USA - Prof. Randolph Beaudry – Michigan State University, USA - Dr. Sarah Lingle – Southern Regional Research Center, USA
ความร่วมมือทางวิชาการกับต่างประเทศความร่วมมือทางวิชาการกับต่างประเทศ • สาขาชีววิทยาน้ำจืด และอนุกรมวิธานแพลงก์ตอนสัตว์น้ำจืด - Dr. Russell J. Shiel – The University of Adelaide, SA, Australia - Dr. Hendrik Segers – Royal Belgian Institute of Natural Science, Brussels, Belgium - Dr. Peter Starkweather – University of Nevada, USA
ความร่วมมือทางวิชาการกับต่างประเทศความร่วมมือทางวิชาการกับต่างประเทศ • สาขานิเวศวิทยาแหล่งน้ำจืดและแมลงน้ำ - Dr. Micheal T. Barbur – Tetra Tech, Inc., Maryland, USA
กิจกรรม นิทรรศการสัปดาห์วิทยาศาสตร์
กิจกรรม ค่ายโอลิมปิกวิชาการ สาขาชีววิทยา
กิจกรรม ค่ายเยาวชนชีววิทยา
กิจกรรม ทัศนศึกษาระบบนิเวศทางทะเล
กิจกรรม ทัศนศึกษาพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์
ความภูมิใจและความสำเร็จของภาควิชาความภูมิใจและความสำเร็จของภาควิชา
ติดต่อภาควิชา • ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์มหาวิทยาลัยขอนแก่นอ.เมือง จ. ขอนแก่น40002 • โทรศัพท์: (043)342908 • โทรสาร: (043)364169 • เว็บไซต์: http://biology.kku.ac.th • E-mail: info@biology.kku.ac.th • Facebook: http://facebook.com/biologykku