1 / 44

มันสำปะหลัง (Cassava)

มันสำปะหลัง (Cassava). ประวิตร โสภโณ ดร ภาควิชาพืชศาสตร์ คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ หาดใหญ่ 90112. มันสำปะหลัง (Cassava) Manihot esculenta Crantz . Euphorbiaceae Manioc, Tapioca มันสำโรง มันเทศ อุบีกายู. แหล่งกำเนิด Origin.

Anita
Download Presentation

มันสำปะหลัง (Cassava)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. มันสำปะหลัง (Cassava) ประวิตร โสภโณดร ภาควิชาพืชศาสตร์ คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ หาดใหญ่ 90112

  2. มันสำปะหลัง (Cassava)ManihotesculentaCrantz. Euphorbiaceae Manioc, Tapioca มันสำโรง มันเทศ อุบีกายู

  3. แหล่งกำเนิดOrigin • ประเทศบราซิล : พบพันธุ์ป่า • แถบชายทะเลคาริบเบียน ประเทศโคลัมเบีย และเวเนซูเอลา : พบหลักฐานทางโบราณคดี และพันธ์ป่า • บริเวณอเมริกากลาง แถบประเทศเม็กซิโก กัวเตมาลา ฮอนดูรัส เปรู : พบพันธุ์ป่าและเมล็ดมันสำปะหลังอายุกว่า 4,000 ปี

  4. การแพร่กระจายของมันสำปะหลังการแพร่กระจายของมันสำปะหลัง Early 1800’s Early 1600’s Late 1800’s Early 1600’s Late 1700’s

  5. การแพร่กระจายและนิเวศการแพร่กระจายและนิเวศ • ปลูกและขึ้นได้ในระหว่างละติจูด 300 เหนือ - ใต้ • ต้องการอุณหภูมิเฉลี่ยสูงกว่า 250 ซ. • ไม่ทนต่อสภาพน้ำค้างแข็ง และหนาวจัด • ชอบแสงแดดจัด เป็นพืชในกลุ่ม C3 • ไม่ทนต่อสภาพร่มเงา

  6. การแพร่กระจาย และนิเวศ • ทนแล้งได้ดี ขึ้นในที่มีฝนระหว่าง 500 - 1,000 มม. ต่อปี • ไม่ทนต่อสภาพน้ำท่วมขัง • ชอบดินร่วนทราย ดินทราย และต้องมีการระบายน้ำดี • ทนต่อสภาพดินกรด pH ต่ำถึง 4.5 ได้ดี • สามารถขึ้นในดินที่มีความอุดมสมบูรณ์ต่ำ • อัตราการเจริญเติบโตระหว่าง 8 - 25 g m-2 d-1 • มีค่า optimum LAI ระหว่าง 7 - 12

  7. ชนิดของมันสำปะหลัง แบ่งตามอายุ • พันธุ์อายุสั้น (short season) หัวมันแก่เมื่อมีอายุ 6 -11 เดือน • พันธุ์อายุยาว (long season) หัวมันแก่เมื่อมีอายุมากกว่า 1 ปี แบ่งตามปริมาณกรดไซยานิค(HCN) • Sweet cassava พวกที่มีกรดไซยานิคต่ำ • Bitter cassava พวกที่มีกรดไซยานิคสูง

  8. แหล่งปลูกของโลก Cassava : Harvestedarea, productionandyield, Thailandandselectedcountries, 1998 - 2000 ประเทศเนื้อที่เก็บเกี่ยว (1,000 ไร่) ผลผลิต (1,000 ตัน) ผลผลิตเฉลี่ยต่อไร่ (กก.) 2541 2542 25432541 254225432541 2542 2543 รวมทั้งโลก101,175104,812100,619158,620169,026172,7371,5681,6131,717 ไนจีเรีย 16,856 19,200 19,200 30,409 32,697 32,697 1,804 1,703 1,703 บราซิล 9,913 9,891 10,667 19,809 20,892 22,960 1,998 2,112 2,152 ไทย 6,527 6,659 7,068 15,591 16,507 19,049 2,389 2,479 2,695 อินโดนีเซีย 7,531 8,500 8,500 14,728 16,347 16,347 1,956 1,923 1,923 คองโก 13,750 12,710 6,855 16,500 16,500 15,959 1,200 1,298 2,328 กานา 3,938 4,063 4,063 7,172 7,845 7,845 1,821 1,931 1,923 อินเดีย 1,531 1,563 1,563 5,868 5,800 5,800 3,833 3,711 3,711 แทนซาเนีย 4,331 4,375 5,301 6,193 7,182 5,758 1,430 1,642 1,086 ยูกันดา 2,138 2,344 2,388 2,285 3,300 4,966 1,069 1,408 2,080 โมซัมบิก 6,344 5,988 5,000 5,639 5,353 4,643 889 894 929 อื่น ๆ 28,316 29,519 30,014 34,426 36,603 36,713 1,216 1,240 1,223 แหล่งข้อมูล : ประเทศไทย, สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร ประเทศอื่น, องค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ

  9. ประวัติการนำเข้า • เชื่อว่ามีการนำเข้ามาปลูกในประเทศไทยตั้งแต่ก่อนสมัยรัตนโกสินทร์ • พ.ศ. 2480 นายทวน คมกฤส นำเข้าพันธุ์มันสำปะหลังจากประเทศฟิลิปปินส์และมาเลเซีย มาปลูกที่สถานีทดลองยางคอหงส์ หาดใหญ่ • พ.ศ. 2500 เริ่มมีการปลูกมันสำปะหลังอย่างแพร่หลายในจังหวัดสุพรรณบุรี กาญจนบุรีและชลบุรี

  10. การแพร่กระจายมันสำปะหลังไปสู่ภาคอิสานการแพร่กระจายมันสำปะหลังไปสู่ภาคอิสาน • เริ่มมีการจัดทำแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ และมุ่งพัฒนาภาคเกษตรกรรม • ทางคมนาคมดีขึ้น • มันสำปะหลังสามารถแข่งขันได้ดีกว่าการปลูกปอ • มันสำปะหลังทนแล้งได้ดีกว่า • มันสำปะหลังสามารถขึ้นในดินเลวได้ • ไม่จำกัดเวลาที่ต้องเก็บเกี่ยว และสามารถปลูกได้ตลอดปี การตั้งโรงงานแปรรูปขั้นต้นง่าย และไม่ต้องลงทุนมากนัก

  11. การผลิตมันสำปะหลังในประเทศไทยการผลิตมันสำปะหลังในประเทศไทย Cassava : Area, production and yield by Region, 1999 - 2000 ภาคเนื้อที่ปลูก (ไร่) เนื้อที่เก็บเกี่ยว (ไร่) ผลผลิต (ตัน)ผลผลิตเฉลี่ยต่อไร่ (กก.) 2542 25432542 25432542 2543 2542 2543 เหนือ 938,198 1,035,380 884,495 994,247 2,134,246 2,669,761 2,413 2,685 อิสาน 4,162,640 4,219,849 3,872,395 4,037,690 9,246,397 10,472,343 2,388 2,594 กลาง 2,098,702 2,150,742 1,902,077 2,036,451 5,125,982 5,922,180 2,695 2,908 รวม7,199,5407,405,9716,658,967 7,068,38816,506,625 19,064,284 2,479 2,697 ที่มา : http:\\www.aeo.org.th (website : สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร)

  12. พันธุ์มันสำปะหลัง • พันธุ์มาตรฐาน: ระยอง 1 และพันธุ์พื้นเมือง • พันธุ์ใหม่: • กรมวิชาการเกษตร : ระยอง 5, ระยอง 72, ระยอง 90 • มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ : เกษตรศาสตร์ 50 (KU50), ศรีราชา 1 • CIAT (Centro Intenacional de Agricuultural Tropical)

  13. ลักษณะที่ใช้ในการคัดเลือกพันธุ์มันสำปะหลังลักษณะที่ใช้ในการคัดเลือกพันธุ์มันสำปะหลัง • ผลผลิตน้ำหนักแห้งสูง • เปอร์เซ็นต์แป้งสูง • ปริมาณแป้งสูง • Harvest index สูง • กรดไซยานิคต่ำ • ต้านทานต่อโรคใบจุด และแมลงดูดน้ำเลี้ยง

  14. การเตรียมดิน • ไถพรวนดินอย่างน้อย 1 ครั้งก่อนปลูก หากปลูกในฤดูฝน และเป็นที่ซึ่งระบายน้ำไม่ดีนัก ควรยกร่องแล้วปลูกบนสันร่อง • ปลูกเดือนพฤษภาคม ถึงเดือน มิถุนายน • ภาคตะวันออกสามารถปลูกปลายฤดูฝน (ประมาณเดือน กันยายน - ตุลาคม)

  15. วิธีการปลูก ท่อนพันธุ์ (Cutting) : • ควรมีขนาดยาว 20-30 ซม. จากส่วนกลางถึงโคนต้น • อายุของต้นที่นำมาทำท่อนพันธุ์ ระหว่าง 6-12 เดือน มากกว่า 4 และไม่แก่เกิน 18 เดือน ท่อนพันธุ์ควรใหม่สด ไม่เกิน15-30 วัน การปลูก (Planting method) : ระยะปลูก 80-100 X 80-100 ซม. • วางท่อนพันธุ์นอน แล้วใช้ดินกลบ 2-5 ซม • ปักจิ้มตั้งฉากกับพื้น ให้โผล่พ้นดิน 1/3 ของความยาว • ปักจิ้มเฉียงประมาณ 60 องศา ให้โผล่พ้นดิน 1/3 ของความยาว

  16. วัชพืชที่พบในแปลงมันสำปะหลังวัชพืชที่พบในแปลงมันสำปะหลัง • หญ้าตีนติด (Brachiaria reptans) • หญ้าตีนนก (Brachiaria adscendens) • หญ้าขจรจบ (Pennisetum polystachyon, P. pedicellatum, P. setosum) • หญ้าปากควาย (Dactyloctenium aegyptium) • บานไม่รู้โรยป่า (Gomphrena celosiodes) • ผักยาง (Euphorbia geniculata)

  17. การกำจัดวัชพืช 1-3 เดือนแรกควรใส่ใจในการป้องกันกำจัดวัชพืชให้มาก • สารเคมีฉีดพ่นก่อนงอก (pre-emergency herbicide) ได้แก่ diuronอัตรา 80-120 gm. ai.ต่อไร่, alachlorอัตรา 160-320 gm. ai.ต่อไร่, metolachlorอัตรา 160-320 gm. ai.ต่อไร่ • สารเคมีฉีดพ่นหลังวัชพืชงอก (post-emergence herbicide) ได้แก่ paraquatอัตรา 80-120 gm. ai.ต่อไร่, dalapon, MSMA, glyphosate • ใช้แรงงานคนทำรุ่น เมื่ออายุ 1 เดือน แล้วทำซ้ำอีก 2 ครั้ง • ไถพรวนระหว่างแถว ด้วยวัวหรือรถไถเดินตาม

  18. การใส่ปุ๋ย • ผลผลิตเฉลี่ยจากการปลุกซ้ำที่จะลดลงเฉลี่ยปีละ 300 กก. ต่อไร่ • ในดินทรายจำพวก Regosal ถ้าใส่ปุ๋ยอัตรา 15-15-15 N-P2O5-K2O ต่อไร่ จะสามารถเพิ่มผลผลิตถึง 27% • ในดินร่วนเหนียวปนทราย เช่นดิน grey podzolic, red yellow podzolic และ red yellow latosol อาจใส่ปุ๋ยเพียงครึ่งของอัตราที่แนะนำในดินทราย

  19. การทดแทนความอุดมสมบูรณ์ของดินการทดแทนความอุดมสมบูรณ์ของดิน • ในแต่ละปีจะมีการสูญเสียธาตุอาหารพืชจากดินโดยสูญเสียไปในรูปผลผลิต (crop removal) ประมาณไร่ละ 12 N, 12 P2O5, 14 K2O • ควรใส่ปุ๋ยที่มีธาตุอาหารพืชเพื่อชดเชยความอุดมสมบูรณ์ของดินไม่น้อยกว่าปริมาณนี้ และควรพิจารณาการป้องกันการชะล้างพังทะลายของหน้าดิน (กษัยการ soil erosion) ตลอดจนปริมาณการนำต้นไปเป็นท่อนพันธุ์ปลูกด้วย

  20. การบำรุงรักษาความอุดมสมบูรณ์ของดินการบำรุงรักษาความอุดมสมบูรณ์ของดิน • ใส่ปุ๋ยคอก และปุ๋ยหมัก (compost) • ปลุกปุ๋ยพืชสด (green manure) เช่น โสน และปอเทือง • ปลูกพืชแซม (inter cropping) เช่นถั่วลิสง และถั่วเขียว • การหมุนเวียนแปลงด้วยพืชอาหารสัตว์ (ley cropping) ตระกูลถั่วเช่นถั่วท่าพระสไตโล ถั่วคาวาลเคด

  21. โรคของมันสำปะหลัง • ใบจุดสีน้ำตาล (brown leaf spot) จากเชื้อรา Cercosporahenningii • ใบจุดสีขาว (White leaf spot) จากเชื้อรา Cercosporaviscosae • โรคใบไหม้ (Bacterial leaf blight) จากเชื้อ Xanthomonascamprestispv.Manihotis • โรคใบด่าง (mosaic) จากเชื้อไวรัส โดยมีแมลงหวี่ขาว (white fly: Bemisianigeriensis) เป็นพาหะของโรคใบด่าง

  22. แมลงศัตรู • ไรแดง (spidermite และ malberryredmite : Tetranychustruncatus, Oligonychusbiharensis) • เพลี้ยแป้งลาย (striped หรือ cassava mealybug : Firrisiavirgata) • แมลงหวี่ขาว (whitefly : Dialeurodes sp.) แมลงศัตรูจะระบาดมากในปีที่มันสำปะหลังกระทบแล้ง และจะเสียหายรุนแรงหากเป็นช่วง 2-4 เดือนหลังปลูก

  23. แมลงศัตรูธรรมชาติ • แมลงห้ำ ได้แก่ • ด้วงเต่าสีดำ เป็นตัวห้ำของเพลี้ยแป้งลายและไรแดง • ด้วงเต่าสีน้ำตาล เป็นตัวห้ำของเพลี้ยแป้งลาย • ด้วงปีกสั้น เป็นตัวห้ำของไรแดง • แมลงช้างปีกใส วัยตัวหนอนเป็นตัวห้ำของไรแดง เพลี้ยแป้งลาย และแมลงหวี่ขาว • ไรตัวห้ำ เป็นตัวห้ำของไรแดง • แมลงเบียน ได้แก่ • แตนเบียนเพลี้ยแป้ง ตัวเต็มวัยจะวางไข่บนตัวอ่อนของเพลี้ยแป้ง และทำลายตัวอ่อนวัยสุดท้าย ก่อนที่เพลี้ยแป้งจะสามารถเจริญพันธุ์

  24. สารป้องกันกำจัดศัตรูมันสำปะหลังสารป้องกันกำจัดศัตรูมันสำปะหลัง สารเคมี อามีทราช ไดโคโฟล มาลาไธออน โอเมโทเอต อัตราใช้ /น้ำ 20 ลิตร 40 มล. 50 มล. 15 มล. 40 มล. วิธีการ พ่นเฉพาะบริเวณที่ถูกไรแดงทำลาย พ่นใต้ใบเฉพาะบริเวณ ที่พบเพลี้ยแป้ง พ่นใต้ใบเฉพาะบริเวณที่พบแมลงหวี่ขาว ห้ามใช้ก่อนเก็บเกี่ยว 14 วัน 7 วัน 21 วัน แมลงศัตรู ไรแดง เพลี้ยแป้งลาย แมลงหวี่ขาว

  25. ระบบการปลูกพืชแซมมันสำปะหลังระบบการปลูกพืชแซมมันสำปะหลัง • พืชที่เหมาะสม สามารถใช้ปลูกแซม (inter-cropping) ในแถวมันสำปะหลังได้แก่ ถั่วเขียว ถั่วลิสง ถั่วเหลือง ข้าวโพดหวาน • พืชตระกูลถั่ว ปลูก 3 แถว ระยะระหว่างหลุม 20-30 ซม. จำนวน 2 ต้นต่อหลุม • ข้าวโพดหวาน ปลูก 1 แถว ระยะระหว่างหลุม 50-100 ซม. จำนวน 1 ต้นต่อหลุม • หรือปลูกสลับกับถั่วอาหารสัตว์ (ley farming) ในระยะเวลาสลับกัน 2-3 ปี

  26. การเก็บเกี่ยวมันสำปะหลังการเก็บเกี่ยวมันสำปะหลัง • ควรเก็บเกี่ยวเมื่อมันสำปะหลังมีอายุระหว่าง 8-12 เดือน จะใด้ผลผลิตหัวมันสด และเปอร์เซ็นต์แป้งสูง • วิธีเก็บเกี่ยวจะต้องตัดลำต้นออกก่อน (บางส่วนนำไปใช้เป็นท่อนพันธุ์ แต่ไม่ควรจะเก็บรักษาไว้เกิน 45 วัน) แล้วจึงค่อยถอนหรือขุดหัวมันสำปะหลังออก แล้วควรรีบส่งโรงงานทำมันเส้นหรือโรงงานทำแป้งมัน ไม่ควรทิ้งไว้นานเกิน 4 วัน • วิธีการที่ดีในการเก็บรักษาท่อนพันธุ์คือการเก็บแปลงไว้ส่วนหนึ่งเพื่อใช้ต้นสำหรับการขยายพันธุ์โดยเฉพาะ ซึ่งจะทำให้มีท่อนพันธุ์ที่ใหม่และเหมาะสมสำหรับการปลูกเมื่อถึงฤดูปลูก

  27. ผลผลิตมันสำปะหลัง • ผลผลิตมันสำปะหลังโลกประมาณ 170 ล้านตัน โดยไทยเป็นประเทศที่ส่งออกมันสำปะหลังมากที่สุดในโลก • ผลผลิตเฉลี่ยต่อพื้นที่ 930 - 3,700 กก. ต่อไร่ • ผลผลิตของประเทศไทยประมาณ 19-20 ล้านตัน • ผลผลิตเฉลี่ยของภาคเหนือ 2,346 กก. ต่อไร่ • ผลผลิตเฉลี่ยของภาคอิสาน 2,169 กก. ต่อไร่ • พันธุ์ระยอง 90 เฉลี่ย 3,810 กก. ต่อไร่ • พันธุ์ศรีราชา 1 เฉลี่ย 4,092 กก. ต่อไร่

  28. การใช้ประโยชน์ • อาหารคน: ทำขนม และเป็นอาหารคาร์โบไฮเดรท ใบเป็นผักใช้ทำอาหาร • อาหารสัตว์: มันสำปะหลังเส้น มันสำปะหลังอัดเม็ด ใบและต้น • แป้งอุตสาหกรรม และแป้งดัดแปร: เพื่อเป็นวัตถุดิบในอุตสาหกรรมอื่น ๆ เช่นผงชูรส กาว แป้งมัน ส่วนผสมในบรรจุภัณฑ์ย่อยสลายได้

  29. การแปรรูป • เกษตรกร หัวมันสด 1.00 กก. • โรงงานมันเส้น Cassava chip 0.40 กก. • โรงงานมันอัดเม็ด Cassava pellet 0.37 กก. • โรงงานแป้งมันสำปะหลัง Tapioca flour 0.20 กก. กากมันสำปะหลัง (Cassava meal) 0.04-0.09 กก.

  30. เกษตรกรขาดหัวมันสด 0.80 บาท/กก. พ่อค้าคนกลาง หรือโรงงานมันเส้นขนาดเล็ก โรงงานมันเส้น โรงงานแป้งมัน กากมัน แป้งมันสำปะหลัง มันเส้นตากแห้ง พ่อค้าแป้งมันในประเทศ โรงงานมันอัดเม็ด บ. ส่งออกแป้งมัน พ่อค้าคนกลาง (หยง) ผู้บริโภคในประเทศ แป้งมัน ส่งออกไปต่างประเทศ บริษัทส่งออกมันเส้นและมันอัดเม็ด มันอัดเม็ดส่งออก การตลาดมันสำปะหลัง

  31. ล้าง ปอกเปลือก ชั่งน้ำหนักหัวมันสด ขูด บด H2SO4, HCl Acid hydrolysis Biological hydrolysis Cooking Amylase Pre-saccharification Amylo glucoside Saccharification Saccharification Yeast: Saccharomyces cerevisae Fermentation Alcohol Screening Distillation Centrifuge Vat การผลิตแอลกอฮอล์จากมันสำปะหลัง

  32. คุณค่าทางอาหารสัตว์ โภชนะ (…./100 kg.) ในหัว ในใบ • calories (Kcal.) 135-149 60 • moisture (%) 65.5-62 81 • Protein (g) 1.0-1.2 6.9 • Fat (g) 0.2-0.4 1.3 • Carbohydrate (g) 32.4-35.7 9.2 • Fiber (g) 1.0-1.1 2.1 • Ash (g) 0.6-0.9 1.6 • Calcium (mg) 68-26 144

  33. คุณค่าทางอาหารสัตว์ (ต่อ) โภชนะ (…./100 kg.) ในหัว ในใบ • Phosphorus (mg) 32-42 68 • Iron (mg) 0.9-1.9 2.8 • Sodium (mg) 2.0 4.0 • Potassium (mg) 394 409 • Beta carotine (eq mg) 0-30 8280 • Thiamine (mg) 0.04 0.16 • Riboflavin (mg) 0.04 0.32 • Niacin (mg) 0.6 1.8 • Ascorbic acid (mg) 19-31 82

  34. CN CN O C CH3 O O C CH3 O CH3 C2H5 HCN ในมันสำปะหลัง เกิดจากการออกซิไดซ์ของสารไซยาโนเจนิค ไกลโคซายด์ (Cyanogenic glycoside) ที่พบในมันสำปะหลัง ซึ่งมี 2 แบบคือ • Linamarin • Lotanstralin

  35. ปริมาณไกลโคซายด์ในมันสำปะหลังปริมาณไกลโคซายด์ในมันสำปะหลัง • ใบ 83 - 878 มก./กก. • เปลือก 105 - 1110 มก./กก. • เนื้อ 5 - 490 มก./กก. ปริมาณ HCN ที่พบในมันสำปะหลัง • หัวมันสด 122.09 ppm. • มันเส้นท้องถิ่น (Chip) 30.48 ppm • มันอัดเม็ด (Pellet) 13.68 ppm

  36. Glycoside และ HCN สามารถทำให้สลายตัวได้ด้วย • การต้ม เผา หรือทอด ให้ได้รับความร้อน • การทำให้แห้งโดยความร้อนหรือแสงแดด • การอัดเม็ดจะเกิดความร้อนด้วย • การทำเป็นแป้ง • การหมัก

  37. การทำแป้งแปรรูป และการทำภาชนะบรรจุที่สลายตัวได้ง่าย จากมันสำปะหลัง • Modified starch • Bio-degradable materials to replace plastic • ดูกล้าณรงค์ ศรีรอด หรือใน websiteของ มก. • ดู Kasem Chokpipatporn et. al. (The Thai Tapioca Trade Association) 1990. Tapioca: The answer to lower feed cost. Year Book Publisher Co. Ltd. Bangkok. : 93pp. (HD9235 C36T27.1990)

  38. สถานการณ์การผลิต ปี 2544-2545 • การผลิต • พื้นที่เก็บเกี่ยว ปี 2545 คาดว่าจะมีพื้นที่เก็บเกี่ยว 6.20 ล้านไร่ ผลผลิต 16.83 ล้านตัน ลดลงจากปีก่อนร้อยละ 5.56 และ 8.50 ตามลำดับ แต่เป็นพืชที่อยู่แผนยุทธศาสตร์ในกลุ่มส่งเสริมเพื่อการส่งออก • การตลาด • ราคาของปี 2544 ไม่จูงใจจึงทำให้เกษตรกรลดการผลิตและหันไปปลูกพืชอื่นแทน จึงคาดว่าราคาจะดีกว่าปีก่อน การรับซื้อมีการแข่งขันกันสูง แต่เกษตรกรบางรายจะเร่งขุดหัวมันสดที่อายุน้อย หัวมันสด มันเส้น มันอัดเม็ด แป้งมัน เกษตรกรขายได้ 1.06 2.37 - - ราคาขายส่งใน กทม - 2.95 2.33 8.17 ราคาส่งออก FOB - - 2.80 8.30 ราคาของเดือนมิถุนายน 2545 อ้างอิงจาก ข่าวเศรษฐกิจการเกษตร ปีที่ 48 ฉ 548 กรกฎาคม 2545

  39. ท่อนพันธ์

  40. การปลูก และการเก็บเกี่ยว

  41. สถานการณ์การผลิตปี 2547/48 • คาดว่าการผลิตเพิ่มขึ้น เนื่องจากราคาดี การดูแลง่าย ภาวะฝนแล้งทำให้การปลูกอ้อยและข้าวโพดลดลง ประกอบกับการส่งเสริมการผลิตเอทานอลทดแทนน้ำมัน เนื้อที่เก็บเกี่ยว1 2547 2548 886.2 882.2 3,615.7 3,738.5 2,106.4 2,074.7 6,608.4 6,695.5 ผลผลิต2 2547 2548 2,819.22,902.1 11,399.6 12,221.2 7,221.7 7,069.3 21,440.5 22,192.5 ผลผลิตต่อไร่3 2547 2548 3,1813,289 3,153 3,269 3,428 3,407 3,244 3,315 ภาค เหนือ อิสาน กลาง รวม 1 หน่วย พันไร่ , 2 หน่วย พันตัน , 3 หน่วย กิโลกรัมหัวมันแห้ง

  42. สถานการณ์ปี 2547/48 • การใช้ในประเทศ • มันเส้นสะอาดเป็นอาหารสัตว์เพิ่มมากขึ้น • แป้งมันสำปะหลังสำหรับอุตสาหกรรมสิ่งทอ กระดาษ อาหารเพิ่มมากขึ้น • รัฐส่งเสริมการผลิตเอทานอลทดแทนน้ำมันเชื้อเพลิง • การส่งออก • ตลาดจีนต้องการมันเส้นไปทำแอลกอฮอล์มากขึ้น ราคาขนส่งถูกลง • ตลาด EU ต้องการมันอัดเม็ดลดลง เนื่องจากโปแลนด์สมาชิกใหม่ของ EU ผลิตธัญญพืชได้ดี • ราคามีแนวโน้มสูงกว่าปี 2547

  43. ราคามันสำปะหลังเดือน กันยายน 2547 หัวมันสด มันเส้น มันอัดเม็ด แป้งมัน เกษตรกรขายได้ 1.09 2.87 - - ราคาขายส่งใน กทม - 2.71 2.33 7.84 ราคาส่งออก FOB - - 3.11 7.95 ราคาของเดือนกันยายน 2547 อ้างอิงจาก ข่าวเศรษฐกิจการเกษตร ปีที่ 50 ฉ 575 ตุลาคม 2547

More Related