1 / 52

Train The Trainer

Train The Trainer. Flash MX. Overview. Macromedia Flash เป็นซอฟต์แวร์ที่ช่วยในการ สร้างสื่อมัลติมีเดีย,กราฟิกสำหรับงานเว็บ.

zinnia
Download Presentation

Train The Trainer

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Train The Trainer Flash MX

  2. Overview • Macromedia Flash เป็นซอฟต์แวร์ที่ช่วยในการ สร้างสื่อมัลติมีเดีย,กราฟิกสำหรับงานเว็บ • ผลงานมีทั้งสื่อภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว สื่อมัลติมีเดีย ตลอดจนสื่อที่มีระบบโต้ตอบกับผู้ใช้ซึ่งเป็นสื่อที่มีขนาดเล็ก โหลดผ่าน Web Browserได้รวดเร็วมีความคมชัดสูงแม้ว่าจะถูกขยายขนาด สามารถนำเสนอได้ทั้งบนเว็บ / ผ่านโปรแกรม Flash Player / สร้างเป็น exe file / สามารถแปลงไฟล์ไปอยู่ในฟอร์แมตอื่นได้ด้วย เช่น Animation Gif, AVI, QuickTime

  3. นามสกุล Flash • .Fla = เป็น default ของนามสกุลใน Flash จะสามารถนำไปใช้ได้เมื่อมี Program Flashอยู่ในเครื่องที่เปิดเท่านั้น ทำให้สามารถทำการแก้ไข เพิ่มเติมได้ • .Swf= เป็นตัว Compileไม่มี Program Flashก็สามารถใช้งานได้ แต่ไม่สามรถทำการแก้ไข ใดๆได้

  4. MS Windows 98/ ME/ 2000/ NT/ XP • CPU มากกว่า 200 MHz (หน่วยประมวลผล) • RAM มากกว่า 64 MB (หน่วยความจำ) • พื้นที่ Hard disk 85 MB • ความละเอียดจอภาพที่แสดงผล 1024*768 Pixel • CD-ROM OS Requirement (ความต้องการระบบ)

  5. ส่วนประกอบของหน้าต่างโปรแกรมส่วนประกอบของหน้าต่างโปรแกรม • Title Bar แสดง ปุ่มควบคุมหลัก(Control Menu), ชื่อ โปรแกรม และปุ่มควบคุมหน้าต่างโปรแกรม • Menu Bar แสดง รายการคำสั่งต่างๆของโปรแกรม • Toolbarแสดงปุ่มเครื่องมือการทำงานมาตรฐาน ของ โปรแกรม เช่น ปุ่มเปิดงานใหม่, เปิดไฟล์เอกสาร, จัดเก็บไฟล์ เป็นต้น • Toolbox แสดงปุ่มเครื่องมือเกี่ยวกับการวาดภาพ สร้างภาพ

  6. ส่วนประกอบของหน้าต่างโปรแกรมส่วนประกอบของหน้าต่างโปรแกรม • Timeline เส้นควบคุมเวลาสำหรับนำเสนอผลงานประกอบ ด้วยส่วนทำงานเกี่ยวกับ Layer และ Timeline • Panelควบคุมฟังก์ชันงานซึ่งมีหลายฟังก์ชัน • Libraryควบคุมเกี่ยวกับชุดวัตถุ ของโปรแกรม ได้แก่ Symbols, Buttons, Movies • Work Areaพื้นที่ทำงาน • Stage พื้นที่ส่วนที่ใช้ในการวางวัตถุ ต่างๆ เมื่อมีการนำ เสนอผลงานจะแสดงเฉพาะวัตถุบน Stage เท่านั้น

  7. หลักการทำงาน Flash มี 4 ขั้นตอนหลัก 1. การนำภาพGraphicหรือสร้างภาพขึ้นมาใช้งาน 2.แปลงส่วนประกอบต่างๆให้เป็นSymbolที่ Flash รู้จัก Symbol มี 3 ชนิด (Movie Clip, Button, Graphic) 3. การสร้าง Animation 4.การเผยแพร่เป็นชิ้นงาน(Publish)เช่น swf, html, etc

  8. อุปกรณ์การวาด #1 • Line Toolวาดเส้น (เส้นตรง และ เส้นโค้ง) - เลือก Line Toolแล้วนำเมาส์มา ชี้ ณ ตำแหน่งที่เป็นจุด เริ่มของเส้นบน Stage กดปุ่มซ้ายของ เมาส์ค้างไว้ แล้ว ลากเมาส์ ให้ได้ความยาว และทิศที่ต้องการ จึงปล่อยเมาส์ - หากต้องการให้เส้นตรงเรียบ หรือทำมุม 45 องศา ให้กด ปุ่ม Shiftด้วย

  9. อุปกรณ์การวาด #2 • Pen Toolวาดเส้น - เลือก Pen Tool แล้วกำหนด จุดเริ่มต้น และจุดสิ้นสุด สามารถกำหนดต่อไปเรื่อยๆ (ถ้าต้องการวาดเส้นโค้ง ให้ Click เมาส์ค้างไว้ และทำการปรับความโค้งตามต้องการ) - เมื่อต้องการจบการสร้างเส้นอิสระ สามารถกระทำได้โดย 1. Double Click ตำแหน่งใดๆ เมื่อต้องการเส้นอิสระแบบ วัตถุรูปเปิด 2. Click ณ ตำแหน่งจุดเริ่มต้นของวัตถุ เมื่อต้องการวัตถุรูปปิด

  10. อุปกรณ์การวาด #3 • Rectangle Toolวาดรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส / ผืนผ้า - เลือก สีเส้น, สีพื้น, และลักษณะมุมของสี่เหลี่ยม - เลือก Rectangle Toolนำเมาส์มาชี้ ณ ตำแหน่งจุดเริ่ม ของรูปบน Stage กดปุ่มเมาส์ค้างไว้ ลากเมาส์ในลักษณะ เฉียง เมื่อได้ขนาดและรูปร่างที่ต้องการ จึงปล่อยเมาส์ - ถ้าต้องการรูป สี่เหลี่ยมจัตุรัส ให้กด Shiftด้วย หรือ สังเกตจาก รูปวงกลมเล็กๆ ข้างเมาส์

  11. อุปกรณ์การวาด #4 • Oval Toolวาดวงกลม / วงรี • - เลือก สีเส้น, สีพื้น • - เลือก Oval Toolนำเมาส์มา ชี้ ณ ตำแหน่งที่เป็นจุดเริ่ม • ของรูปบน Stage กดปุ่มเมาส์ค้างไว้ ลากเมาส์ในลักษณะ • เฉียง เมื่อได้ขนาดและ รูปร่างที่ต้องการ จึงปล่อยเมาส์ • - ถ้าต้องการรูป วงกลม ให้กด Shiftด้วย • หรือ สังเกตจาก รูปวงกลมเล็กๆ ข้างเมาส์

  12. อุปกรณ์การวาด #5 • Pencil Toolวาดภาพแบบร่าง หรือขีดเส้นต่างๆ • - เลือก Pencil Toolแล้วกำหนดรูปแบบของเส้น ที่ Option > Straighten = ปรับเส้นให้มีลักษณะแข็ง > Smooth = ปรับเส้นให้มีความเรียบโค้งกลมกลืน > Ink = ให้เส้นเป็นแบบหมึก - ลากเส้น อิสระตามต้องการ

  13. อุปกรณ์การวาด #6 • Brush Toolระบายสี • - เลือกสีที่ต้องการระบายให้เป็นสีของ Fill Color - เลือก Brush Tool ลากเมาส์เพื่อ ระบายสี ตามต้องการ กำหนด ขนาด, ลักษณะหัวแปรง และ ลักษณะการระบายสี • > Paint Normal = ระบายทับทุกส่วนของภาพ • > Paint Fill = ระบายทับในพื้นที่เว้นเส้นกรอบรูป • > Paint Behind = ระบายในส่วนพื้นหลัง • > Paint Selection = ระบายทับส่วนที่เลือกไว้ • > Paint Inside = ระบายทับพื้นที่ด้านใน

  14. อุปกรณ์การวาด #7 • Eraser Toolลบส่วนที่ไม่ต้องการของภาพออก • - เลือก Eraser Tool ลากเมาส์เพื่อลบบริเวณที่ไม่ต้องการ คุณลักษณะของการลบ • > Eraser Normal = ลบทุกส่วนของภาพ • > Eraser Fills = ลบส่วนที่เป็นพื้นที่ยกเว้นเส้นกรอบ • > Eraser Lines = ลบเฉพาะเส้นกรอบ • > Eraser Selection Fills = ลบเฉพาะพื้นที่ที่ถูกเลือก • > Eraser Inside = ลบเฉพาะพื้นที่ภายในเส้นกรอบ

  15. การทำงานกับสี #1 • การใช้หน้าต่าง Color Mixer • Solidกำหนดสีพื้น • Linerกำหนดให้มีการไล่สีแบบเส้นตรง • Radialกำหนดให้ไล่สีจากจุดศูนย์กลางไปตามแนวรัศมี • แสดงสีเป็นภาพแบบBitmapกำหนดสีพื้นเป็นภาพ • เรียกหน้าต่าง Color Mixer โดยเลือกที่เมนู • Window > Color Mixer

  16. การทำงานกับสี #2 • ภาพใน หน้าต่าง Color Mixer 1. กำหนดรูปแบบเป็น Bitmap 2. เลือกรูปที่ต้องการจะให้แทนสีพื้น จากหน้าต่าง Open ถ้าต้องการ เพิ่มรูปให้เป็นสีพื้น ทำโดยเลือกเมนู File > Import • 3.เลือกสีพื้น ที่เป็นภาพจากหน้าต่าง Color Mixer แล้วทำการวาด วัตถุ หรือใช้ถังสีเทลงวัตถุ พื้นที่ของวัตถุจะเป็นภาพที่มีขนาดเล็กกว่าภาพจริงและเรียงต่อกัน

  17. การทำงานกับสี #3 • ภาพใน Fill Color 1. นำไฟล์รูปที่ต้องการเข้ามา โดยเลือกคำสั่ง File > Import 2. เลือกคำสั่ง Modify > Break Apartเพื่อแยกองค์ประกอบของภาพ ทำให้สามารถแก้ไขภาพได้ 3. ใช้ Eye Dropper Toolดูดสีที่ภาพมาเก็บไว้ที่ Fill Colorและนำมาใช้ทันที (โดยไม่ได้เลือกผ่านหน้าต่าง Color Mixer) ภาพที่ได้จะมีขนาดเท่าของจริง

  18. การทำงานกับสี #4 • การปรับแต่งภาพ Fill Transform Tool ใช้ปรับโทนสี และสามารถขยาย/ลดรัศมี หรือย้ายจุดศูนย์กลาง • - เลือก Fill Transform Tool • - Click mouse พื้นที่ที่ต้องการปรับแต่ง เพื่อเปลี่ยนแนว • โทนสีตามต้องการ สีแบบ Redial สีแบบ Linear > เลื่อนตำแหน่งจุดศูนย์กลาง > ขยายแนวรัศมี > ขยายแนวรัศมีออกด้านข้าง > หมุนแนวรัศมี > การเลื่อนตำแหน่งแนวโทนสี > การขยายขนาดของแนวโทนสี > การหมุนแนวโทนสี

  19. เครื่องมือตกแต่งภาพ #1 • Arrow Tool ใช้ในการ Selectionวัตถุที่ต้องการ และสามารถใช้ทำการ ปรับแต่งเส้นขอบได้ด้วย Options • Snap to Objectsใช้ดูดเส้นขอบของวัตถุ • Smooth ใช้ปรับความโค้งให้วัตถุ • Straighten ใช้ปรับมุมให้วัตถุ • Subselect Tool ใช้ปรับแต่งวัตถุ โดยกระทำที่เส้นขอบ

  20. เครื่องมือตกแต่งภาพ #2 • Subselect Tool ใช้ปรับแต่งวัตถุ โดยกระทำที่เส้นขอบ • - เลือก SubSelect Tool • - Click mouse ที่เส้นขอบ แล้วทำการปรับแต่งวัตถุโดย • การลากเมาส์ที่จุดต่างๆของเส้นขอบ • Free TransformTool ใช้ในการบิดปรับ, หมุน, ปรับความเอียง, ขยายขนาด ของวัตถุ • - เลือก Free Transform Toolจะเกิดจุดปรับรอบๆวัตถุที่ • คลิกเมาส์ลงไป

  21. เครื่องมือตกแต่งภาพ #3 - สามารถทำการบิดวัตถุ, ปรับขนาดวัตถุ, หมุนวัตถุ และ ทำการย้ายจุดหมุนของวัตถุ Options • Rotate and Skewใช้หมุนและบิดรูป • Scaleใช้ย่อขยายวัตถุ • Distrot ใช้ปรับเปลี่ยนวัตถุ • Envelope ใช้ปรับแต่งวัตถุ

  22. เครื่องมือตกแต่งภาพ #4 • Lasso Tool ใช้เลือกพื้นที่ได้อย่างอิสระและรวดเร็ว • - เลือก Lasso Tool • - Click mouse ค้างไว้ ลากตามพื้นที่ที่ต้องการ แล้วปล่อย • เมาส์ พื้นที่ที่เลือกจะมีลักษณะเหมือนถูกแรเงา • - ใช้ Selection Tool ลากพื้นที่นั้นออก • Options • Polygon Modeสร้าง Selection แบบหลายเหลี่ยม • Magic Wandเลือก Selection โดยอาศัยค่าสี • Magic Wand Properties กำหนดวงกว้าง หรือระดับ • ความใกล้เคียงของการเลือกสีได้

  23. เครื่องมือตกแต่งภาพ #4 • Zoom Tool ย่อ-ขยายภาพ • - เลือก ZoomTool ไปที่ Options • Enlargeใช้ในการขยายขนาด • Reduceใช้ในการย่อขนาด • - คลิกเมาส์บริเวณรูปภาพ • Hand Tool เลื่อนดูภาพ • - เลือก Hand Tool • - Click mouse ค้างไว้ และลากไปยังทิศทางที่ต้องการ

  24. การจัดการวัตถุ • เครื่องมือในการช่วยวัด และจัดวาง • 1. Ruler ลักษณะเหมือนไม้บรรทัด อยู่ด้านบนและซ้ายของหน้าต่างรูปภาพ เป็น ตัวอ้างอิงเพื่อใช้บอกขนาด ของพื้นที่ที่เลือก View > Rulers • 2. Guide เส้นที่ใช้ในการ อ้างอิง ช่วยกะระยะและตำแหน่ง โดยใช้เส้นตรงทั้งแนวตั้งและนอน View > Guides • 3. Gridเส้นตารางใช้ในการอ้างอิง โดยจุดแต่ละจุดเกิดจากเส้นแนวตั้งและนอนมาตัดกัน View > Grid

  25. การสร้างตัวอักษร #1 • Text Tool การใส่ข้อความ • - เลือก Text Toolแล้ว ลากเมาส์ บริเวณที่ต้องการสร้าง • กล่องข้อความ • - กำหนด รูปแบบFont, ขนาด จากหน้าต่าง Properties • Window > Properties • - พิมพ์ข้อความที่ต้องการ

  26. การสร้างตัวอักษร #2 • หน้าต่าง Properties ของ Text Tool • 1. Static Toolรูปแบบการแสดงตัวอักษรธรรมดาทั่วไป • 2. Dynamic Toolรูปแบบของตัวอักษรที่สามารถเปลี่ยนแปลงค่า หรือข้อความได้ด้วยตัวเองตามข้อมูลจาก Server • 3. Input Textกล่องรับข้อความ ซึ่งสามาถรับข้อความปกติ หรือแบบ Password ได้

  27. การสร้างตัวอักษร #3 • ตัวอย่างการสร้างข้อความให้ Link ไปยังเว็บเพจอื่น • - เลือก Text Tool,ที่หน้าต่าง Properties เลือก Static Text • - พิมพ์ข้อความ จากนั้นเลือกข้อความและ พิมพ์ URLในหน้าต่าง Properties • - เลือก Targetที่ต้องการ • > _blank = เปิดหน้าเพจใหม่ • > _parent = แสดงบนหน้าเพจเดิมโดยลบหน้าเดิมออก • > _self = แสดงในเพจหรือเฟรมเดียวกับที่แสดงข้อความ • > _top = ขยายเต็มหน้าจอ • - ทดสอบโดยกด <Ctrl+Enter>

  28. Symbol • รู้จัก Symbol แต่ละแบบ 1. Movie Clipแสดงภาพเคลื่อนไหวได้อย่างอิสระ (ตัวหลักในการทำ Animation) 2. Buttonลักษณะของปุ่มกด ที่สามารถ ใส่เสียง และแสดงการตอบโต้กับผู้ใช้ได้ 3. Graphicลักษณะเป็นภาพนิ่ง สามารถกำหนดให้มีการตอบโต้ กับผู้ใช้ แต่ ไม่สามารถใส่เสียงได้

  29. Layer การทำงานเป็น Layer เป็นการทำงานโดยแยกส่วนต่างของภาพออกจากกัน ทำให้เกิดการเคลื่อนที่อย่างสมจริง - Showการซ่อน และแสดง Layer - Lockป้องกันการแก้ไขรูปภาพ - Outlines แสดงแต่เส้นโครงร่าง เพื่อใช้อ้างอิงตำแหน่ง

  30. หลักการพื้นฐานในการสร้าง Animation • หลักการของ Animation การเคลื่อนไหว มี 2 ลักษณะ คือ 1. แบบย้ายสถานที่ (Motion)เช่น วัตถุเคลื่อนจากจุด A ไป B 2. แบบเปลี่ยนแปลงลักษณะ (Transform)เช่น กระดาษถูกเปลี่ยนแปลงรูปร่าง

  31. หลักการพื้นฐานในการสร้าง Animation • ประเภทการเคลื่อนไหว • 1. เคลื่อนไหวชนิดภาพต่อภาพ (Frame By Frame Animation) • เหมาะกับการทำ Animation ที่ซับซ้อน ที่มีการเคลื่อนไหว • ลักษณะท่าทางมาก • 2. เคลื่อนไหวชนิดกำหนดจุดเริ่มต้นและจุดสุดท้าย (Tweened • Animation)ใช้วิธีคำนวณของ Flash ในการแสดงภาพต่างๆ • 2.1 เปลี่ยนแปลงสถานที่ (Motion Tween) • 2.2 เปลี่ยนแปลงลักษณะเดิม (Shape Tween)

  32. หลักการพื้นฐานในการสร้าง Animation • Frame ลักษณะเป็นช่องเล็กที่เรียงกันเป็นแถวยาว ทำหน้าที่บรรจุภาพ และเสียง ดังนั้นจึงต้องทำการ จัดเรียงเรื่องราวบน Frame เพื่อแสดงออกมาเป็น Flash Movie • Keyframe Frame ที่มีวัตถุ หรือมีการเปลี่ยนแปลง สังเกตจากจุดใน Frame หรือจุดเริ่มต้นของ Frame ในงาน Animation

  33. การสร้าง Animation • Frame By Frame Animation สร้างภาพในแต่ละ Frame หรือ ทำการ Import ไฟล์ภาพลงในแต่ละ Frame • Tweened Animation 1. Motion Tween 2. Shape Tween

  34. การสร้าง Animation • Motion Tween การทำ Animation แบบ Tween 1 สร้างภาพ หรือ Import ภาพ เข้ามาไว้ที่ Stage 2 เลือกภาพ แล้วเลือก Insert > Convert Symbol 3 เกิดหน้าต่าง Symbol Property ให้เลือก Movie Clip 4 เลือก Frame 20 Click mouse ปุ่มขวา เลือก Insert Keyframeเพื่อแสดงภาพตั้งแต่ Frame 1 ถึง Frame 20

  35. การสร้าง Animation 5 เลือก Frame ที่ 1 เพื่อกำหนดจุดเริ่มต้นของการเคลื่อนไหว 6 เลือก Insert > Creat Motion Tweenเพื่อให้ Flash ทำการสร้าง Animation ตั้งแต่ Frame ที่ 1 ถึง Frame ที่ 20 7 จะเห็นว่ามีลูกศรที่ Frame แสดงว่า Flash ได้สร้างการเคลื่อนไหวตั้งแต่ Frame 1 ถึง 20 แล้ว จากนั้นเลือก Frame ที่ 20 ย้ายตำแหน่ง Movie Clip เพื่อกำหนดจุดสิ้นสุดในการเคลื่อนที่ของ Animation 8 ทดสอบ Animation <Ctrl + Enter>

  36. การสร้าง Animation การทำ Animation แบบ ย่อ-ขยาย 1 สร้าง Animation แบบ Tween (ขั้น 1-7) 2 เลือก Frame ที่ 20 แล้วเลือก Free Transform Toolเพื่อขยายรูป โดยใช้ Scale (Modify > Transform > Scale) 3 เลือก Frame ที่ 1 ทำการย่อวัตถุ 4 ทดสอบโดยกด (Ctrl + Enter)

  37. การสร้าง Animation การทำ Animation แบบ Rotation 1 สร้าง Animation แบบ Tween (ขั้น 1-7) 2 - เลือก Frame ที่ 20 แล้วเลือก Free Transform Toolเพื่อทำการหมุนรูป โดยใช้ Rotate หรือ (Modify > Transform > Rotate and Skew) - หรือ ทำการหมุนที่หน้าต่าง Propertiesโดยเลือก Tweening เป็น Motion, เลือก Scale, เลือก Rotate (CW,CCW),และ Times 3 ทดสอบ (Ctrl + Enter)

  38. การสร้าง Animation การทำ Animation แบบ บิดพลิกวัตถุ 1 เลือก TextTool ทำการพิมพ์ข้อความ โดยกำหนดขนาดและสี 2 เลือกข้อความ จากนั้นเลือก Modify > Break Apart 3 กระจาย Layer เพื่อแยกตัวอักษรออกเป็น Layer ละ 1 ตัว โดยเลือก Modify > Distribute to Layers 4 ตัวอักษรถูกกระจายแล้ว และไปที่ Frame ที่ 20 ใน Layer ของตัวอักษรตัวแรก ทำการ Insert Keyframe 5 เลือก Frame ที่ 1 แล้วลือก Create Motion Tween

  39. การสร้าง Animation 5 เลือก Frame ที่ 1 แล้วลือก Create Motion Tween 6 ทำการ Insert Keyframe และ Create Motion Tween ทุกๆLayerของแต่ละตัวอักษร 7 กลับไป Layer ตัวอักษรแรก เลือก Frame ที่ 1 แล้วเลือก Modify > Transform > Flip Horizontal 8 ทำการ Flip ให้กับทุกๆ Layer โดยทำที่ Frame ที่ 1 9 ทดสอบโดยกด <Ctrl + Enter>

  40. การสร้าง Animation การทำ Animation แบบ Guildline 1 สร้าง Animation แบบ Tween (ขั้น 1-7) 2 เลือก Frame ที่ 1 แล้วทำการAdd Motion Guideเพื่อสร้าง Guide Layer ขึ้นมา 3 เลือก Frame ที่ 1 ของ Guide Layer แล้วเลือก Pencil Toolลากเส้นที่ต้องการให้วัตถุเคลื่อนที่ 4 ลาก Movie Clipใน Frame 1 มาวางที่ปลายเส้นที่จุดเริ่มต้น 5 เลือก Frame ที่ 20 นำ Movie Clipมาวางที่จุดสุดท้าย

  41. การสร้าง Animation 6 ทดสอบโดยกด <Ctrl + Enter> 7 สังเกตว่า Movie Clip เคลื่อนที่ไม่เป็นธรรมชาติ สามารถแก้ไขได้โดยเลือก Frame ที่ 1 แล้วทำเครื่องหมายที่ช่องOrient to path เพื่อให้เคลื่อนที่ตามเส้นให้สัมพันธ์กัน Guide Layer ขึ้นมา 8 เลือก Frame 20 ใช้ Free Transform Toolทำการหมุน Movie clip ให้สัมพันธ์กับการเคลื่อนที่กับเส้นที่เราลากขึ้น 9 ทดสอบโดยกด <Ctrl + Enter>

  42. การสร้าง Animation การทำ Animation แบบ Layer Mark 1 สร้าง หรือ Importภาพไว้ที่ Stage 2 เลือก Frame ที่ 90 แล้วทำการInsert Keyframeเพื่อ กำหนดให้แสดงภาพที่ Inport เข้สมาถึง Frame ที่ 90 3 เลือก Insert > Layer แล้วเลือก Frame ที่ 1 ใน Layer 2 แล้วสร้างวงกลมที่มุมบนซ้าย 4 เลือก วงกลม แล้วทำการConvert to symbol 5 เลือก Frame ที่ 10 ใน Layer 2 ทำการInsert Keyframe

  43. การสร้าง Animation 6 เลือกFrame 30 ใน Layer 2 แล้วเลือกInsert Keyframe 7 กลับมาที่ Frame ที่ 10 เลือกInsert > Create Motion Tween จะเกิดลูกศรขึ้นตั้งแต่ Frame 10-30 8เลือก Frame 30 เพื่อย้าย Movie clipไป บนขวา 9 เลือก Frame 40 ใน Layer 2 แล้วเลือก Insert Keyframe 10 เลือก Frame 30เลือก Insert > Create Motion Tween 11 เลือก Frame 40 เพื่อย้าย Movie clipไป ล่างขวา

  44. การสร้าง Animation 12 เลือก Frame 60 ใน Layer 2 แล้วเลือก Insert Keyframe 13 เลือก Frame 40เลือก Insert > Create Motion Tween 14 เลือก Frame 60 เพื่อย้าย Movie clipไป ล่างซ้าย 15 เลือก Frame 70 ใน Layer 2 แล้วเลือก Insert Keyframe 16 เลือก Frame 60 เลือก Insert > Create Motion Tween 17 เลือก Frame 70 เพื่อย้าย Movie clipไป ตรงกลาง

  45. การสร้าง Animation 18 เลือก Frame 90 ใน Layer 2 แล้วเลือก Insert Keyframe 19 เลือก Frame 70เลือก Insert > Create Motion Tween 20 เลือก Frame 90 เพื่อย้าย Movie clipไป บนซ้าย 21 Click mouse ปุ่มขวาที่ Layer 2 เลือก Markเพื่อสร้าง Layer Mark ใน Layer 2 22 ทดสอบโดยกดปุ่ม <Ctrl + Enter>

  46. การสร้าง Animation • Shape Animation การเปลี่ยนแปลงรูป 1 สร้างภาพ หรือ Import ภาพ เข้ามาไว้ที่ Stage 2 เลือก Modify > Break Apartเพื่อแยกองค์ประกอบ 3 เลือก Frame 20 Click mouse ปุ่มขวา เลือก Insert Keyframeเพื่อแสดงภาพตั้งแต่ Frame 1 ถึง Frame 20 4 ลบภาพใน Frame ที่ 20 แล้ว นำภาพใหม่เข้ามาแทน

  47. การสร้าง Animation 5 เลือก Modify > Break Apartเพื่อแยกองค์ประกอบ 6 เลือก Frame 1 สังเกตหน้าต่าง Properties ที่ช่อง Tween เลือกคำสั่ง Shapeเพื่อให้วัตถุเกิดการเปลี่ยนแปลง 7 ช่อง Blend เลือก Distributiveเปลี่ยนแปลงโดยการกระจายภายในวัตถุ ถ้ามีลูกศรเกิดขึ้นแสดงว่า Flash ทำการคำนวณเพื่อเปลี่ยนแปลงภาพทั้ง/ ภาพแล้ว 8 ทดสอบ <Ctrl + Enter>

  48. การสร้าง Animation การเปลี่ยนแปลงตัวอักษร 1 เลือกText Toolแล้วเขียนข้อความที่ Frame ที่ 1 แล้วเลือก Modify > Break Apart(2 ครั้ง เพื่อสามารถแก้ไขวัตถุได้)เพื่อแยกองค์ประกอบ 2 เลือก Frame 20 Click mouse ปุ่มขวา เลือก Insert Keyframeเพื่อแสดงภาพตั้งแต่ Frame 1 ถึง Frame 20 แล้ว ลบข้อความใน Frame ที่ 20 3 เลือก Text Tool แล้วเขียนข้อความที่ Frame ที่ 20 แล้วเลือก Modify > Break Apart (2 ครั้ง)

  49. การสร้าง Animation 4 Click mouse เลือก Frame ที่1 ที่หน้าต่าง Properties เลือกคำสั่ง Shape เพื่อกำหนดการเปลี่ยนแปลงรูปร่าง 5 มีลูกศรเกิดขึ้นแสดงว่า Flash ทำการเปลี่ยนแปลงให้เป็น Animation แล้ว 6 ทดสอบ <Ctrl + Enter>

  50. การเผยแพร่ Flash Movie • การ Publish Flash สามารถแปลง File (Publish) งานออกมาได้หลายรูปแบบ ขึ้นอยู่กับลักษณะงานที่เราจะใช้ File > Publish Settings Publish เป็น Flash Movie/ Html/ GIF/ JPEG/ PNG/ Quick Time • การ Export Movie และ Export Image เป็นการนำ Flash Movie มาเผยแพร่ เหมือนกับการ Publish แต่ต่างกันที่ Publish จะเก็บค่าต่างๆ ที่กำหนดไว้ใน Publish Setting File > Export Movie

More Related