1 / 40

Medication Administration Benjawan Nunthachai

Medication Administration Benjawan Nunthachai. คำย่อ - คำแปลในการให้ยาตามแผนการรักษาของแพทย์ (ที่ใช้บ่อย). a.c . ante cibum before meals (ก่อนอาหาร) b.i.d . bis in die twice a day (วัน ละสอง ครั้ง) C cum with (พร้อมกับ)

zeroun
Download Presentation

Medication Administration Benjawan Nunthachai

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Medication Administration BenjawanNunthachai

  2. คำย่อ-คำแปลในการให้ยาตามแผนการรักษาของแพทย์(ที่ใช้บ่อย)คำย่อ-คำแปลในการให้ยาตามแผนการรักษาของแพทย์(ที่ใช้บ่อย) • a.c. ante cibum before meals (ก่อนอาหาร) • b.i.d. bisin die twice a day (วันละสองครั้ง) • C cum with (พร้อมกับ) • Cap Capsula capsule (แคปซูล) • D dies day (วัน) • b.i.n.bis in noctus twice a night (คืนละสองครั้ง)

  3. คำย่อ-คำแปลในการให้ยาตามแผนการรักษาของแพทย์(ที่ใช้บ่อย)คำย่อ-คำแปลในการให้ยาตามแผนการรักษาของแพทย์(ที่ใช้บ่อย) • h.s.horasomni bedtime เมื่อเวลาเข้านอน • o.d. once daily วันละครั้ง • p.c. post cibum after meals หลังอาหาร • p.o. per os by mouth กินทางปาก • pilpilula pillยาเม็ด • p.r.n. pro re nata as needed หรือ when necessary for (ใช้เมื่อมีกรณีจำเป็น/เมื่อต้องการ)

  4. คำย่อ-คำแปลในการให้ยาตามแผนการรักษาของแพทย์(ที่ใช้บ่อย)คำย่อ-คำแปลในการให้ยาตามแผนการรักษาของแพทย์(ที่ใช้บ่อย) • q.i.d.quaterin die four times a day วันละสี่ครั้ง • s.l. sub lingual under the tongue ใต้ลิ้น • t.i.d.terin die three times a day วันละสามครั้ง • Tsp teaspoon ช้อนชา • Tbsp tablespoon ช้อนโต๊ะ • Tabtabella tablet ยาเม็ด

  5. คำย่อ-คำแปลในการให้ยาตามแผนการรักษาของแแพทย์(ที่ใช้บ่อย)คำย่อ-คำแปลในการให้ยาตามแผนการรักษาของแแพทย์(ที่ใช้บ่อย) • I.M. into the muscle ฉีดเข้ากล้าม • I.V. into the vein ฉีดเข้าหลอดเลือดดำ • Mg. milligram มิลลิกรัม • Ml. milliliter มิลลิลิตร (ซีซี.) • O.D.oculodextro right eye ตาขวา • O.S. oculosinistro left eye ตาซ้าย • O.U.oculoutro in each eye ตาแต่ละข้าง

  6. Rights of Medication Administration 1. Right patient • Check the name on the order and the patient. • Use 2 identifiers. • Ask patient to identify himself/herself. • When available, use technology (for example, bar-code system).

  7. Rights of Medication Administration 2. Right medication • Check the medication label. • Check the order. 3. Right dose • Check the order. • Confirm appropriateness of the dose using a current drug reference. • If necessary, calculate the dose and have another nurse calculate the dose as well.

  8. ยาก่อนอาหาร • ยาที่รับประทานก่อนอาหารอย่างน้อยครึ่งถึงหนึ่งชั่วโมงเพื่อให้ยาถูกดูดซึมเข้าสู่กระแสโลหิตได้ดี หากรับประทานพร้อมหรือหลังอาหารทันทีจะทำให้การดูดซึมของยาลดลงมาก • หากลืมรับประทานก่อนอาหารให้รับประทานหลังอาหารอย่างน้อย 2 ชั่วโมง • สำหรับยาที่ออกฤทธิ์ไปเพิ่มการเคลื่อนไหวของกระเพาะอาหารและลำไส้ ซึ่งใช้รักษาอาการคลื่นไส้อาเจียน ให้รับประทานก่อนอาหารเพื่อที่จะได้ออกฤทธิ์ลดอาการคลื่นไส้ อาเจียน เมื่อรับประทานอาหารลงไปได้ทัน

  9. ยาหลังอาหาร • โดยทั่วไปหมายความว่าหลังอาหารอย่างน้อย 15 นาที ยาที่ให้รับประทานหลังอาหารนี้ ส่วนมากเป็นยาทั่ว ๆ ไป ซึ่งไม่รบกวนต่อการดูดซึมของยาและอาจเพิ่มการดูดซึมของยาบางชนิดได้ หรือเป็นยาที่ถึงแม้จะถูกดูดซึมได้ดีในขณะท้องว่าแต่มีฤทธิ์ระคายเคืองกระเพาะอาหารมาก

  10. ยาหลังอาหารทันที/ยาก่อนนอนยาหลังอาหารทันที/ยาก่อนนอน • ยาที่มีฤทธิ์เป็นกรดทำให้เกิดการระคายเคืองต่อเยื่อบุกระเพาะอาหารมักทำให้คลื่นไส้ อาเจียนเมื่อรับประทานขณะท้องว่าง หากรับประทานติดต่อกันเป็นเวลานานอาจทำให้เป็นผลหรือจนถึงขั้นเป็นแผลทะลุได้ ดังนั้นจึงต้องมีอาหารหรือน้ำช่วยทำให้เจือจาง ยาดังกล่าวได้แก่ ยาแก้ปวดข้อต่าง ๆ ยาแอสไพริน และยาสเตียรอยด์เป็นต้ • รับประทานก่อนนอน หมายความว่าให้รับประทานก่อนนอนตอนกลางคืนวันละ 1 ครั้ง เท่านั้น

  11. ยาเม็ดคุมกำเนิด คืออะไร •         ยาเม็ดคุมกำเนิด คือฮอร์โมนสังเคราะห์ที่ฝ่ายหญิงใช้กินเพื่อป้องกันการตั้งครรภ์ เป็นฮอร์โมนที่ทำเลียนแบบฮอร์โมนของผู้หญิง คือ เอสโตรเจน(Estrogen) และโปรเจสเตอโรน(Progesterone)  ยาเม็ดคุมกำเนิด มี  2 ชนิด คือ ชนิดแผงละ 21 เม็ดและชนิดแผงละ 28  เม็ด   บางชนิดจะมีฮอร์โมนเพียงอย่างเดียว แต่ส่วนใหญ่จะมีทั้ง 2 อย่าง เรียกว่า ชนิดฮอร์โมนรวม ซึ่งนิยมใช้มากกว่า  สตรีทุกคนสามารถเลือกซื้อหาได้ทั่วไปอย่างง่ายดาย   ประชากรทั่วโลกหลายล้านคนเลือกใช้ยาเม็ดคุมกำเนิด เพราะกินง่ายสะดวกและเป็นที่ยอมรับว่าให้ผลในการคุมกำเนิดเป็นอย่างดี

  12. ยาคุมกำเนิดป้องกันการตั้งครรภ์ได้อย่างไรยาคุมกำเนิดป้องกันการตั้งครรภ์ได้อย่างไร •  ป้องกันการตั้งครรภ์ได้เพราะ ฮอร์โมนในเม็ดยาทำให้ไม่มีไข่สุกจากรังไข่ ทำให้มูกที่ปากมดลูกเหนียวข้น ตัวอสุจิผ่านได้ยาก และทำให้เยื่อบุโพรงมดลูกไม่เจริญไม่เหมาะกับการฝังตัวของตัวอ่อน(หากเกิดการปฏิสนธิ)  จึงป้องกันการตั้งครรภ์ได้เป็นอย่างดี ข้อดีในการเลือกใช้ยาเม็ด  มีประสิทธิภาพสูง ใช้ง่าย และไม่ต้องมีข้อปฏิบัติใดๆในขณะร่วมเพศลดอาการที่เกี่ยวกับการมีประจำเดือน เช่น ลดการปวดท้อง  ลดการเสียเลือดมาก  ลดการสูญเสียธาตุเหล็ก  และการเกิดโลหิตจาง  ช่วยให้รอบประจำเดือนสม่ำเสมอลดความเสี่ยงของการอักเสบของอวัยวะในอุ้งเชิงกราน  และการตั้งครรภ์นอกมดลูก ลดการเกิดเนื้องอกของรังไข่    และเนื้องอกชนิดธรรมดาของเต้านม  และถุงน้ำรังไข่ข้อจำกัดของยาเม็ดคุมกำเนิด ต้องกินทุกวันเป็นประจำ  ในเวลาใกล้เคียงกัน อาจเกิดอาการข้างเคียงในบ้างคน ยาเม็ดคุมกำเนิดบางชนิดไม่เหมาะสำหรับผู้ที่ให้นมบุตรอาการข้างเคียงที่อาจพบได้ คลื่นไส้  อาเจียน   น้ำหนักเพิ่ม ปวดศีรษะ  หรือเวียนศีรษะ คัดตึงเต้านม

  13. ข้อแนะนำในการใช้ยาคุมกำเนิดที่ถูกต้องข้อแนะนำในการใช้ยาคุมกำเนิดที่ถูกต้อง • ยาคุมชนิด 21 เม็ด = การกินยาแผงแรก สามารถเริ่มได้ตั้งแต่วันที่ 1-10 ของการมีประจำเดือน (แต่วันที่ 5 จะเหมาะสมที่สุด) โดยเลือกเม็ดยาให้ตรงกับวันที่เริ่มกินยา เช่น เริ่มเม็ดแรกวันจันทร์ ก็ให้กินเม็ดที่ด้านหลังแผงเขียนว่า “จ” หรือ “Mon” กินคืนละ 1 เม็ด ก่อนนอนทุกคืน ตรงเวลา ห้ามลืมกิน โดยกินไปตามลูกศร จนครบ 21 เม็ด เมื่อหมดแผงแรกแล้ว ให้หยุดยา 7 วัน แล้วจึงเริ่มกินยาแผงใหม่ต่อไป โดยในช่วง 7 วันที่หยุดยา จะมีประจำเดือนมา ไม่ต้องสนใจว่าจะมากี่วัน ถึงแม้จะยังไม่หมด แต่เมื่อหยุดยาแผงแรกครบ 7 วันแล้ว ก็เริ่มยาแผงใหม่ได้เลย

  14. ข้อแนะนำในการใช้ยาคุมกำเนิดที่ถูกต้องข้อแนะนำในการใช้ยาคุมกำเนิดที่ถูกต้อง • ยาคุมชนิด 28 เม็ด = จะประกอบด้วยฮอร์โมน 21 เม็ด และอีก 7 เม็ด อาจเป็นแป้ง วิทามิน หรือเหล็ก ซึ่งจะมีสีหรือขนาดเม็ดยาแตกต่างจาก 21 เม็ด เม็ดแป้งอีก 7 เม็ดที่เพิ่มเข้ามา เพื่อให้กินยาติดต่อกันทุกวัน โดยไม่ต้องเว้นช่วง จะได้ไม่ต้องกังวลเรื่องการนับวันการกินยาแผงแรก ให้เริ่มกินในวันแรกที่มีประจำเดือน โดยให้เริ่มกินในส่วนที่เป็นสีแดงในด้านหลังของแผง และเลือกเม็ดยาให้ตรงกับวันแรกของการมีประจำเดือน กินคืนละ 1 เม็ด ก่อนนอนทุกคืน ตรงเวลา ห้ามลืมกิน โดยกินไปตามลูกศร จนครบ 28 เม็ด เมื่อกินหมดแผงแล้ว สามารถเริ่มยาแผงต่อไปได้ทันที โดยไม่ต้องสนใจว่ากำลังมีประจำเดือนอยู่หรือไม่ก็ตาม

  15. ยาคุมกำเนิดฉุกเฉิน • ยาคุมฉุกเฉินมีข้อบ่งใช้ในการป้องกันการตั้งครรภ์ในกรณีฉุกเฉิน คำว่า “ฉุกเฉิน” หมายถึง การมีเพศสัมพันธ์ในคู่สามีภรรยา ที่มีการวางแผนครอบครัว และทำการป้องกันการตั้งครรภ์ แต่เกิดความผิดพลาดจากวิธีคุมกำเนิดที่ใช้ เช่น การรั่วหรือฉีกขาดของถุงยางอนามัย การลืมรับประทานยาเม็ดคุมกำเนิดตั้งแต่ 2 เม็ดขึ้นไป เป็นต้น หรือใช้ในกรณีผู้หญิงที่ถูกข่มขืน • ยาเม็ดโปรเจสเตอโรนอย่างเดียว ( หรือที่ทราบกันดีว่ามีชื่อการค้าว่า โพสตินอร์ ) มีส่วนประกอบหลักเพียงอย่างเดียว คือ Levonorgestrelขนาดเม็ดละ 0.75 มิลลิกรัม โดยรับประทาน 2 ครั้ง ระยะห่างกัน 12 ชั่วโมง และต้องรับประทานภายใน 72 ชม หลังจากมีเพศสัมพันธ์

  16. ยาคุมกำเนิดฉุกเฉิน

  17. ข้อแนะนำในการรับประทานยาคุมกำเนิดฉุกเฉินข้อแนะนำในการรับประทานยาคุมกำเนิดฉุกเฉิน ยาคุมฉุกเฉินแต่ละแผงมียาคุมฉุกเฉิน 2 เม็ด แต่ละเม็ดประกอบด้วยตัวยาที่เป็นฮอร์โมนขนาดสูง คือ levonorgestrelเม็ดละ 750 ไมโครกรัม • การรับประทานยาที่ถูกต้องคือ รับประทานยาเม็ดแรกให้เร็วที่สุดหลังจากมีเพศสัมพันธ์ที่ไม่ได้ป้องกัน โดยไม่ควรเกิน 72 ชั่วโมง • และจะต้องรับประทานยาเม็ดที่สองหลังจากรับประทานยาเม็ดแรกไม่เกิน 12 ชั่วโมง • หากมีการอาเจียนภายใน 2 ชั่วโมงหลังรับประทานยาแต่ละเม็ด ต้องรับประทานยาใหม่ • ไม่แนะนำให้รับประทานยาเกิน 4 เม็ด หรือ 2กล่อง ต่อเดือน

  18. ข้อแนะนำในการรับประทานยาคุมฉุกเฉินข้อแนะนำในการรับประทานยาคุมฉุกเฉิน • การรับประทานยาเม็ดแรกภายใน 72 ชั่วโมง หลังการมีเพศสัมพันธ์ดังกล่าวตามด้วยยาเม็ดที่สอง จะให้ประสิทธิภาพในการป้องกันการตั้งครรภ์ได้ 75% แต่หากเริ่มยาภายใน 24ชั่วโมง หลังการมีเพศสัมพันธ์ จะให้ประสิทธิภาพในการป้องกันการตั้งครรภ์เพิ่มขึ้นเป็น 85% ดังนั้นจึงควรรับประทานยาเม็ดแรกหลังการมีเพศสัมพันธ์ให้เร็วที่สุด

  19. ผลข้างเคียงของยาคุมกำเนิดฉุกเฉินผลข้างเคียงของยาคุมกำเนิดฉุกเฉิน • ผลข้างเคียงที่อาจพบได้บ่อยคือ เวียนศีรษะ คลื่นไส้ อาเจียน คัดเต้านม และระดูมาผิดปกติ โดยอาจมาเร็วขึ้นหรือช้าก็ได้  บางครั้งอาจพบเลือดออกกระปริดกระปรอย  ดังนั้นถ้าขาดระดูหรือระดูมากระปริดกระปรอยหลังใช้ยานี้ จำเป็นจะต้องตรวจให้ทราบว่าเป็นการตั้งครรภ์หรือเป็นผลของยา ในกรณีที่ป้องกันไม่ได้ยังมีโอกาสตั้งครรภ์นอกมดลูกสูงกว่าปกติอีกด้วย

  20. วิธีละลายยาผงแห้งปฏิชีวนะวิธีละลายยาผงแห้งปฏิชีวนะ • 1. หากต้องใช้ยามากกว่า 1 ขวด ให้ละลายยาทีละขวด2. เคาะผงยาในขวดให้ร่วน3. ใช้น้ำต้มสุกที่เย็นแล้วหรือน้ำดื่มที่สะอาดละลายยา ห้ามให้น้ำร้อนหรือน้ำอุ่น4. เปิดฝาขวดยา เติมน้ำลงในขวดยาประมาณครึ่งขวด ปิดฝาขวด เขย่าให้ผงยาเปียกทั่วและกระจาย ไม่จับเป็นก้อน5. เปิดฝาขวดยาอีกครั้ง เติมน้ำลงในขวดจนถึงขีดที่กำหนดไว้บนขวดยาหรือขีดบอกบนฉลากยา6. ปิดฝาขวดยา เขย่าให้ยากระจายเข้ากันดี7. ก่อนรินยา ต้องเขย่าขวดก่อนทุกครั้ง ยาที่ผสมแล้วมีอายุการใช้ไม่เกิน 7 วัน และเก็บยาไว้ในที่เย็นหรือในตู้เย็นช่องธรรมดา

  21. วิธีใช้ยาหยอดตา • 1. ล้างมือให้สะอาด เขย่าขวดยา2. นอนหรือนั่งแหงนหน้ามองขึ้นข้างบน ใช้มือดึงหนังตาล่างให้เป็นกระพุ้ง3. หยอดตาตามจำนวนหยดลงไป ระวังอย่าให้หลอดหยดแตะกับตาหรือเปลือกตา4. หลับตาพร้อมทั้งใช้มือกดหัวตาไว้ประมาณ 1 – 2 นาที ซับส่วนที่เกินออก5. หากจำเป็นต้องหยอดยาตาหลายชนิดในช่วงเวลาเดียวกัน ให้เว้นช่วงระยะเวลา 5 นาที เพื่อให้ยาแต่ละชนิดออกฤทธิ์ได้ดี6. เมื่อเปิดยาใช้แล้ว ควรทิ้งหลังจาก 1 เดือน ห้ามล้างหรือทำความสะอาดหลอดหยดระหว่างใช้

  22. วิธีใช้ยาป้ายตา • 1. ล้างมือให้สะอาด2. นอนหรือนั่งแหงนหน้ามองขึ้นข้างบน ใช้มือดึงหนังตาล่างให้เป็นกระพุ้ง3. บีบยาลงในกระพุ้งตา โดยเริ่มจากหัวตา ระวังอย่าให้ปลายหลอดแตะกันตาหรือเปลือกตา4. กะพริบตาเบา ๆ ประมาณ 1 – 2 นาที หรือใช้นิ้วมือคลึงเบา ๆ เช็ดยาส่วนเกินออก5. ถ้าจำเป็นต้องใช้ยาป้ายตาร่วมกับยาหยอดตา ให้ใช้ยาหยอดตาก่อนยาป้ายตาประมาณ 5 นาที

  23. Rights of Medication Administration 4. Right route • Again, check the order and appropriateness of the route ordered. • Confirm that the patient can take or receive the medication by the ordered route.

  24. Rights of Medication Administration 5. Right time • Check the frequency of the ordered medication. • Double-check that you are giving the ordered dose at the correct time. • Confirm when the last dose was given.

  25. Rights of Medication Administration 6. Right documentation • Document administration AFTER giving the ordered medication. • Chart the time, route, and any other specific information as necessary. For example, the site of an injection or any laboratory value or vital sign that needed to be checked before giving the drug.

  26. Rights of Medication Administration 7. Right reason • Confirm the rationale for the ordered medication.  What is the patient’s history? Why is he/she taking this medication? • Revisit the reasons for long-term medication use.

  27. Rights of Medication Administration 8. Right response • Make sure that the drug led to the desired effect.  If an antihypertensive was given, has his/her blood pressure improved? Does the patient verbalize improvement in depression while on an antidepressant? • Be sure to document your monitoring of the patient  and any other nursing interventions that are applicable.

  28. Reference • http://www.nursingcenter.com/Blog/post/2011/05/27/8-rights-of-medication-administration.aspx

More Related