1 / 25

เปิดประตูสู่การค้าเสรีไทย-นิวซีแลนด์

เปิดประตูสู่การค้าเสรีไทย-นิวซีแลนด์. FTA. การุณ กิตติสถาพร ปลัดกระทรวงพาณิชย์ 20 มิถุนายน 2548. ประเด็น. ลักษณะทางเศรษฐกิจของนิวซีแลนด์ การบุกตลาดนิวซีแลนด์ภายหลังความตกลง การค้าเสรี ไทย-นิวซีแลนด์ โครงการส่งเสริมการส่งออกไปนิวซีแลนด์ การเตรียมตัวเพื่อใช้ประโยชน์จากความตกลงฯ.

yoland
Download Presentation

เปิดประตูสู่การค้าเสรีไทย-นิวซีแลนด์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. เปิดประตูสู่การค้าเสรีไทย-นิวซีแลนด์เปิดประตูสู่การค้าเสรีไทย-นิวซีแลนด์ FTA การุณ กิตติสถาพร ปลัดกระทรวงพาณิชย์ 20 มิถุนายน 2548

  2. ประเด็น • ลักษณะทางเศรษฐกิจของนิวซีแลนด์ • การบุกตลาดนิวซีแลนด์ภายหลังความตกลง การค้าเสรี ไทย-นิวซีแลนด์ • โครงการส่งเสริมการส่งออกไปนิวซีแลนด์ • การเตรียมตัวเพื่อใช้ประโยชน์จากความตกลงฯ

  3. ประเทศนิวซีแลนด์ (2547) เป็นประเทศที่มีประชากรน้อย แต่มีรายได้สูง • รายได้ประชาชาติ: • นิวซีแลนด์ = 93.6 พันล้านเหรียญสหรัฐฯ • ไทย = 156.1 พันล้านเหรียญสหรัฐฯ • รายได้ต่อหัวต่อปี : • นิวซีแลนด์ = 23,047 เหรียญสหรัฐฯ • ไทย = 2,419 เหรียญสหรัฐฯ • มีประชากร 4 ล้านคน และ GDP Growth • ร้อยละ 2-5% ต่อปี

  4. โครงสร้างเศรษฐกิจของนิวซีแลนด์โครงสร้างเศรษฐกิจของนิวซีแลนด์ โครงสร้าง GDP ของนิวซีแลนด์ โครงสร้างสินค้าออกของนิวซีแลนด์ เกษตร 4% อื่นๆ 14% อุตสาหกรรม 30% ทรัพยากร 16% เกษตร 52% บริการ 66% อุตสาหกรรม18%

  5. การเจริญเติบโตของภาคธุรกิจขายปลีกการเจริญเติบโตของภาคธุรกิจขายปลีก ข้อมูลจาก New Zealand Retailer Association

  6. การค้าระหว่างประเทศของนิวซีแลนด์การค้าระหว่างประเทศของนิวซีแลนด์ • ขาดดุลบัญชีเดินสะพัดมาโดยตลอด และในมูลค่าที่เพิ่มสูงขึ้น • สินค้าส่งออกสำคัญ

  7. การค้าระหว่างไทยและนิวซีแลนด์การค้าระหว่างไทยและนิวซีแลนด์

  8. ประโยชน์ที่ได้รับ ความตกลงการค้าเสรีไทย-นิวซีแลนด์ - ลงนามความตกลงเมื่อวันที่ 19 เมษายน 2548 - มีผลใช้บังคับวันที่ 1 กรกฎาคม 2548 1. เปิดตลาดสินค้าในนิวซีแลนด์สำหรับสินค้าไทย 2. คนไทยเข้าไปทำงานได้สะดวกยิ่งขึ้น 3. ความร่วมมือทางการเกษตร

  9. ความตกลงการค้าเสรีไทย-นิวซีแลนด์ความตกลงการค้าเสรีไทย-นิวซีแลนด์ การเปิดตลาดสินค้า การค้าสินค้า (การลดภาษี, สินค้าโควตาภาษี, มาตรการปกป้องพิเศษ) กระบวนการศุลกากร แหล่งกำเนิดสินค้า มาตรฐานสุขอนามัยมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม การค้าบริการ บริการ การลงทุน การเคลื่อนย้ายบุคคล

  10. ความตกลงการค้าเสรีไทย-นิวซีแลนด์ความตกลงการค้าเสรีไทย-นิวซีแลนด์ ความร่วมมือในประเด็นที่เกี่ยวของกับการค้า พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์นโยบายการแข่งขัน ทรัพย์สินทางปัญญาการจัดซื้อจัดจ้างโดยรัฐ ข้อบททางสถาบัน ความโปร่งใสข้อยกเว้นทั่วไป การยุติข้อพิพาท ข้อบทสุดท้าย

  11. การลดภาษีของไทยและนิวซีแลนด์การลดภาษีของไทยและนิวซีแลนด์

  12. สินค้าหลักที่ได้ประโยชน์ในตลาดนิวซีแลนด์(ตามการลดภาษี)สินค้าหลักที่ได้ประโยชน์ในตลาดนิวซีแลนด์(ตามการลดภาษี)

  13. เครื่องปรับอากาศ • การลดภาษีเพิ่มขีดความสามารถกับคู่แข่งขัน: มาเลเซีย และสาธารณรัฐเกาหลี • จีนมีต้นทุนที่ต่ำกว่าไทยประมาณร้อยละ 30-40

  14. ทูน่ากระป๋อง • ไทยครองตลาดปลาทูน่ากระป๋องกว่าร้อยละ 95 โดยออสเตรเลียส่งออกไปนิวซีแลนด์เป็นอันดับสอง ครองตลาดอยู่ที่ประมาณร้อยละ 2 • ภาษีปัจจุบันประมาณร้อยละ 5 ในสินค้ากลุ่มนี้ • ความตกลงฯ ลดภาษีให้ทูน่ากระป๋องเป็น 0 ไทยจะแข่งขันกับออสเตรเลียในระดับที่เท่าเทียมกัน

  15. สินค้าอ่อนไหวที่ไทยกำหนดโควตานำเข้าจากนิวซีแลนด์สินค้าอ่อนไหวที่ไทยกำหนดโควตานำเข้าจากนิวซีแลนด์ • สินค้าที่มีการกำหนดโควตานำเข้า ได้แก่ น้ำนมและนม พร้อมดื่ม มันฝรั่งสดหรือแช่เย็น หัวหอม และเมล็ดพันธุ์หัวหอม โดยมีระยะเวลาการเปิดตลาด 15-20ปี • สินค้านมผงขาดมันเนย ไม่มีการเปิดโควตาเพิ่มเติม แต่ลดภาษีนอกโควตาให้เหลือร้อยละ 90ของอัตราใน WTOและเปิดให้นำเข้าเสรีใน 20ปี

  16. การเปิดตลาดสินค้าเกษตรอ่อนไหวของไทยให้แก่นิวซีแลนด์การเปิดตลาดสินค้าเกษตรอ่อนไหวของไทยให้แก่นิวซีแลนด์ • มีมาตรการปกป้องพิเศษสำหรับสินค้าอ่อนไหวที่ไม่มี TRQ • เช่น เนื้อวัว เนื้อหมู เครื่องใน นมและผลิตภัณฑ์ น้ำผึ้งธรรมชาติ ส้ม องุ่นสด มันฝรั่ง ฯลฯ • สินค้าเหล่านี้จะได้รับการคุ้มครองเป็นระยะเวลา 10 – 15 ปี • ใช้ระยะเวลาในการลดภาษีเป็น 0 นานถึง 10 ปี

  17. การค้าบริการ • จะเจรจาเปิดตลาดการค้าบริการใน 3 ปี หลังจากความตกลงมีผลใช้บังคับ • หนังสือแนบท้ายความตกลงเรื่องการอำนวยความสะดวกด้านการเข้าไปทำงาน • นิวซีแลนด์ • ให้พ่อครัว / แม่ครัวซึ่งได้รับหนังสือรับรองมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติสาขาผู้ประกอบอาหารไทย มีประสบการณ์ทำงานตั้งแต่ 4-5 ปี และได้รับการว่าจ้างจากธุรกิจในนิวซีแลนด์ ไปทำงานในนิวซีแลนด์ได้ 3 ปี ต่ออายุได้อีก 1 ปี • พยายามให้มีการเจรจายอมรับคุณสมบัติผู้ประกอบอาชีพนวดไทย • ไทย • ให้นักธุรกิจนิวซีแลนด์ที่เข้ามาติดต่อธุรกิจสามารถขอ Multiple Visa ได้ • นักธุรกิจนิวซีแลนด์ที่ถือบัตร APEC Business Travel Card มาประชุมในไทยได้ 90 วัน • ให้นักลงทุนนิวซีแลนด์สามารถใช้ศูนย์ One Stop Service for Visa & Work Permit ได้

  18. ขั้นตอนการไปทำงานเป็นพ่อครัว / แม่ครัวในนิวซีแลนด์ภายใต้ TNZCEP การขอ Temporary Work Visa เพื่อไปทำงานในนิวซีแลนด์ • มีสัญญาว่าจ้างจากธุรกิจในนิวซีแลนด์ให้เข้าไปทำงานเป็นผู้ประกอบอาหารไทย • มีเอกสารรับรองจากธุรกิจในนิวซีแลนด์ระบุรายละเอียดตำแหน่งงาน (Position) และคำอธิบายลักษณะงาน (Job Specification) และเงินเดือนที่ว่าจ้าง • มีเอกสารรับรองประสบการณ์การณ์ทำงาน (4-5 ปี) • มีเอกสารรับรองว่ามีสุขภาพดี • มีหนังสือเดินทางไทย • เมื่อได้รับ Work Visa แล้ว จะต้องแจ้งกรมการจัดหางาน และ ตม. ก่อนเดินทางออกจากไทย ไม่มี Labor Market Test สำหรับ การไปทำงานเป็นพ่อครัวไทย กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศจะจัดสัมมนาเรื่องวิธีปฏิบัติในการขออนุญาต ไปทำงานในออสเตรเลียและนิวซีแลนด์ในวันที่ 6 ก.ค.2548 ณ กระทรวงพาณิชย์ (13 – 16 น.) รายละเอียดใน www.thaifta.comหรือ www.dtn.moc.go.th

  19. ความร่วมมือทางการเกษตรความร่วมมือทางการเกษตร • ความร่วมมือในการพัฒนาอุตสาหกรรมนมและผลิตภัณฑ์ของไทย • มีการเดินทางไปดูงานในนิวซีแลนด์โดยคณะผู้แทนสมาชิกชุมนุมโคนมแห่งประเทศไทย • อุตสาหกรรมนิวซีแลนด์ เป็นตัวอย่างที่ดี เช่น การมีฝ่ายสนับสนุน การผลิต ทำหน้าที่ปรับปรุงพันธ์ และวิเคราะห์คุณภาพนม เป็นต้น

  20. ความร่วมมือในการพัฒนาอุตสาหกรรมนมและผลิตภัณฑ์ความร่วมมือในการพัฒนาอุตสาหกรรมนมและผลิตภัณฑ์ • การบริหารจัดการการตลาด การรวมตัวกันตั้งกองทุน โดยใช้ ระบบ Share Holder Service การจัดทำ Zoning การเลี้ยงวัวที่เหมาะสม • ให้ความช่วยเหลือในเรื่องเทคโนโลยีการบริหารฟาร์ม การทำโครงการนำร่องต่างๆ และให้ความรู้ต่างๆ • สนใจเข้ามาร่วมลงทุนในประเทศไทยและหวังที่จะร่วมมือกับไทยในการพัฒนาผลิตภัณฑ์นมใหม่ๆ เพื่อขยายตลาดไปยังประเทศที่ 3 ร่วมกัน

  21. โครงการส่งเสริมการส่งออกไปยังนิวซีแลนด์โครงการส่งเสริมการส่งออกไปยังนิวซีแลนด์ • มีโครงการ Advance Mission พานักธุรกิจไทยเดินทางไปสำรวจลู่ทางการค้าที่ประเทศนิวซีแลนด์ • การส่งเสริมสินค้าไทย ไทยให้นักธุรกิจนิวซีแลนด์เดินทางมาดูงานแสดงสินค้าในไทย

  22. บริษัทค้าปลีกและนำเข้าที่สนใจสินค้าไทยบริษัทค้าปลีกและนำเข้าที่สนใจสินค้าไทย • The Warehouse Group New Zealand • สนใจซื้อสินค้าจากไทยอย่างมาก • เป็นบริษัทค้าปลีกที่ใหญ่ที่สุดในนิวซีแลนด์ ในกลุ่มสินค้าที่ไม่ใช่อาหาร • ยอดขาย 2.2 พันล้านเหรียญนิวซีแลนด์ และมีกำไร 61.2 พันล้านเหรียญนิวซีแลนด์ • เสนอสินค้าไปขายติดต่อที่ www.thewarehouse.co.nz/ ในส่วน Supplier

  23. ต้องเตรียมความพร้อม • ปรับมาตรฐานสินค้า • ปรับโครงสร้างการผลิตเพื่อเพิ่มศักยภาพในการแข่งขัน • นักธุรกิจต้องเร่งศึกษาพฤติกรรมผู้บริโภค และเข้าไปเจาะตลาดในนิวซีแลนด์

  24. รายละเอียดและข้อมูลเพิ่มเติมรายละเอียดและข้อมูลเพิ่มเติม Website www.thaifta.com www.dtn.moc.go.th สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม Call Center โทร. 02-507-755502-507-7680, 02-507-7687

  25. ขอบคุณ

More Related