1 / 22

กรอบแนวคิด สุขภาวะและระบบสุขภาพ

กรอบแนวคิด สุขภาวะและระบบสุขภาพ. สุขภาวะและดัชนีภาวะสุขภาพ ระบบสุขภาพ แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติฉบับที่ 11 พ.ศ. 2555 – 2559 การกำหนดนโยบายและแผนงานด้านสุขภาพ. Health as Actualization and Stability

Download Presentation

กรอบแนวคิด สุขภาวะและระบบสุขภาพ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. กรอบแนวคิดสุขภาวะและระบบสุขภาพกรอบแนวคิดสุขภาวะและระบบสุขภาพ • สุขภาวะและดัชนีภาวะสุขภาพ • ระบบสุขภาพ • แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติฉบับที่ 11 พ.ศ. 2555 – 2559 • การกำหนดนโยบายและแผนงานด้านสุขภาพ

  2. Health as Actualization and Stability • สุขภาวะ คือ ความรู้สึกผาสุก สามารถทำงาน/ บทบาทที่ได้เต็มศักยภาพ และสามารถยืดหยุ่น/ ปรับตัวได้ ท่ามกลางสถานการณ์ต่างๆ ที่รายรอบ • สุขภาวะ คือ ภาวะที่ไม่หยุดนิ่งของวงจรชีวิตของบุคคล ซึ่งต้องใช้การปรับตัวต่อภาวะเครียดในสิ่งแวดล้อม โดยการใช้แหล่งประโยชน์ที่มีอยู่ เพื่อให้บรรลุศักยภาพสูงสุดในการดำรงชีวิต • สุขภาวะ = ภาวะที่ทำหน้าที่ได้ในวงจรชีวิต • ทุกขภาวะ = การรบกวนในวงจรชีวิต

  3. The Components of Health • สุขภาวะทางกาย Physical Health • สุขภาวะทางใจ Psychological Health • สุขภาวะทางสังคม Social Health • สุขภาวะทางปัญญา Intellectual Health • สุขภาวะทางจิตวิญญาณ Spiritual Health • สุขภาวะทางด้านสิ่งแวดล้อม Environmental Health

  4. องค์ประกอบ 4 ส่วนของ สุขภาพ 1. สุขภาพกาย :สภาพที่ดีของร่างกาย คือ อวัยวะต่างๆอยู่ในสภาพที่ดีมีความแข็งแรงสมบูรณ์ ทำงานได้ตามปกติ และมีความสัมพันธ์กับทุกส่วนเป็นอย่างดี และก่อให้เกิดประสิทธิภาพที่ดีในการทำงาน 2. สุขภาพจิต: สภาพของจิตใจที่สามารถควบคุมอารมณ์ได้ มีจิตใจเบิกบานแจ่มใส ไม่เกิดความคับข้องใจหรือขัดแย้งในจิตใจ สามารถปรับตัวเข้ากับสังคมและสิ่งแวดล้อมได้อย่างมีความสุข

  5. องค์ประกอบ 4 ส่วนของ สุขภาพ 3. สุขภาพสังคม: สภาวะที่ดีของปัญญาที่มีความรู้ทั่ว รู้เท่าทันและความเข้าใจอย่างแยกได้ในเหตุผลแห่งความดีความชั่ว ความมีประโยชน์และความมีโทษ ซึ่งนำไปสู่ความมีจิตอันดีงามและเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ 4. สุขภาพศีลธรรม: บุคคลที่มีสภาวะทางกายและจิตใจที่สุขสมบูรณ์ สามารถปฏิสัมพันธ์และปรับตัวให้อยู่ในสังคมได้เป็นอย่างดีและมีความสุข

  6. Mental Health and Wellbeing ( HAPPY ) • (feels, grows ,develops, learns, the best you can be) • Physical Health and Wellbeing ( HEALTHY ) • (being fit and active and prospering, economic success ) • Social Health and Wellbeing ( ASPIRING ) • (aspirations, loves, passions, connections to others) • Spiritual Health and Wellbeing ( COMMUNITIES ) • (sense of community, social contribution, and legacy) http://healthservant.blogspot.com/2013/01/constructing-plymouths-joint-health-and.html#!/2013/01/constructing-plymouths-joint-health-and.html

  7. ศูนย์การแพทย์เฉพาะทางบริการตติยภูมิศูนย์การแพทย์เฉพาะทางบริการตติยภูมิ ระบบบริการสุขภาพประเทศไทย

  8. โครงสร้างระบบบริการสุขภาพ • การบริการปฐมภูมิ (Primary Care) เป็นบริการที่อยู่ใกล้ชิดประชาชนและชุมชนมากที่สุด เน้นที่ความครอบคลุม มีการบริการผสมผสาน ทั้งในด้านการรักษาพยาบาล การส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันควบคุมโรค ฟื้นฟูสภาพ -ในเขตพื้นที่ชนบท สถานีอนามัย ศูนย์สุขภาพชุมชน -ในเขตเมืองอาจเป็น ศูนย์บริการสาธารณสุขหรือศูนย์แพทย์ชุมชน • การบริการทุติยถูมิ (Secondary Care) เป็นบริการที่ใช้เทคโนโลยีทางการแพทย์ในระดับที่สูงขึ้น เน้นการบริการรักษาพยาบาลโรคที่ยาก ซับซ้อนมากขึ้น - โรงพยาบาลชุมชนในระดับอำเภอ -โรงพยาบาลทั่วไปในระดับจังหวัด -โรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงกลาโหม

  9. โครงสร้างระบบบริการสุขภาพ • การบริการตติยภูมิ และศูนย์การแพทย์เฉพาะทาง (Tertiary Care and Excellent Center) การบริการที่ใช้เทคโนโลยีทางการแพทย์ขั้นสูง มีความสลับซับซ้อนมาก มีบุคลากรทางการแพทย์ในสาขาเฉพาะทาง -โรงพยาบาลศูนย์ สถาบันเฉพาะทางต่างๆ สังกัดมหาวิทยาลัย -โรงพยาบาลในโรงเรียนแพทย์ • ระบบส่งต่อผู้ป่วย ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 บัญญัติว่า รัฐต้องจัดและส่งเสริมการสาธารณสุขให้ประชาชนได้รับบริการที่ได้มาตรฐานและมีประสิทธิภาพอย่างทั่วถึง กระทรวงสาธารณสุข ใช้นโยบาย 3 ประการ คือ 1) การพัฒนาคุณภาพของสถานบริการสาธารณสุขทุกระดับ 2) การสร้างหลักประกันสุขภาพให้กับประชาชนทุกคน 3) ระบบส่งต่อและเครือข่ายสถานบริการสาธารณสุข

  10. การป้องกันและแก้ไขปัญหาระบบสุขภาพของประเทศองค์การอนามัยโลก:WHOการป้องกันและแก้ไขปัญหาระบบสุขภาพของประเทศองค์การอนามัยโลก:WHO • เสนอวิธีการแก้ปัญหาสาธารณสุขของประเทศ โดยเน้นการส่งเสริมสุขภาพ (Health Promotion) เป็นแนวทางที่สำคัญ โดยจัดเป็นกระบวนการเพื่อให้ประชาชนเพิ่มขีดความสามารถในการควบคุมและสร้างเสริมสุขภาพของตนเองให้ดีขึ้น เพื่อให้มีสุขภาพดีทั้งร่างกาย จิตใจ และสังคม • กฎบัตรออตตาวาเพื่อการส่งเสริมสุขภาพ (Ottawa Charter for Health Promotion) ได้เสนอแนะกิจกรรม เพื่อการดำเนินการส่งเสริมสุขภาพ (Health Promotion Action) ไว้ 5 ประการ

  11. Ottawa Charter for Health Promotion 1 ) สร้างนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาพ เกี่ยวข้องกับกฎหมายมาตรการทางเศรษฐกิจ การเงิน การคลัง การเก็บภาษี 2) การสร้างสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ ได้แก่ การอนุรักษ์ทรัพยากรตามธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รวมถึงการจัดการสิ่งแวดล้อมให้สอดคล้องและเหมาะสมกับการดำเนินชีวิต การทำงาน และการใช้เวลาว่าง

  12. Ottawa Charter for Health Promotion 3) การเพิ่มความสามารถของชุมชน เป็นการสร้างพลังและอำนาจให้กับชุมชนให้สามารถกำหนดมาตรการต่างๆ เพื่อพึ่งตนเองทางด้านสุขภาพ 4) การพัฒนาทักษะส่วนบุคคล ให้เกิดความรู้และมีทักษะในการดำรงชีวิตที่ถูกต้อง

  13. Ottawa Charter for Health Promotion 5) การปรับระบบบริการสาธารณสุข ให้เน้นกิจกรรมการส่งเสริมสุขภาพให้มากขึ้น ในการดำเนินการส่งเสริมสุขภาพสามารถดำเนินการโดยเริ่มจากงานใดงานหนึ่งทั้ง ๔ งาน ของการส่งเสริมสุขภาพ คือ 5.1 การพัฒนาสุขภาพ ได้แก่ การแก้ไขพฤติกรรมเสี่ยง เช่น การสูบบุหรี่ การดื่มสุรา เป็นต้น 5.2 การส่งเสริมสุขภาพแก่กลุ่มเป้าหมาย เป็นการส่งเสริมสุขภาพในกลุ่มวัยต่างๆ กลุ่มผู้ป่วยโรคหัวใจ โรคความดันโลหิตสูง 5.3 พื้นที่เป้าหมาย อาจเริ่มต้นที่ครอบครัว โรงเรียน หรือสถานที่ทำงาน 5.4 กลยุทธ์ในการส่งเสริมสุขภาพ ได้แก่ การจัดกิจกรรมสุขปัญหา การสร้างเครือข่ายสุขภาพ การออกกฎหมาย และกฎระเบียบต่างๆ

  14. Q&A

  15. Assignment • ศึกษาแผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 11 (2555 - 2559) • ศึกษาดัชนีสุขภาพ • ภาระกิจโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล

More Related