1 / 38

ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ 1 (Geographic Information System I)

ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ 1 (Geographic Information System I). อ.วุฒิชัย แก้วแหวน คณะภูมิสารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา. Geographic Information System 1. อ. วุฒิชัย แก้วแหวน คณะภูมิสารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา Office: 038-102363 Mobile: 089-9363300 วัน/เวลา/ ห้องเรียน

vui
Download Presentation

ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ 1 (Geographic Information System I)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ 1 (Geographic Information System I) อ.วุฒิชัย แก้วแหวน คณะภูมิสารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา

  2. Geographic Information System 1 • อ. วุฒิชัย แก้วแหวน • คณะภูมิสารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา • Office: 038-102363 Mobile: 089-9363300 • วัน/เวลา/ห้องเรียน • บรรยายวันอาทิตย์ที่ 13 พฤศจิกายน 2554 เวลา 13.00 – 21.00 น. วันเสาร์ที่ 19 พฤศจิกายน 2554 เวลา 13.00 – 21.00 น. • ปฏิบัติวันอาทิตย์ที่ 19 พฤศจิกายน 2554 เวลา 15.00 – 21.00 น. วันเสาร์ที่ 26 พฤศจิกายน 2554 เวลา 13.00 – 21.00 น. วันอาทิตย์ที่ 27 พฤศจิกายน 2554 เวลา 08.00 – 10.00 น. • การสอบวันอาทิตย์ที่ 19 พฤศจิกายน 2554 เวลา 13.00 – 15.00 น. [สอบครั้งที่ 1] วันอาทิตย์ 27 พฤศจิกายน 2554 เวลา 10.00 – 12.00 น. [สอบครั้งที่ 2] • Email: wuthichai@buu.ac.th

  3. Course Schedule ตำรา/ หนังสืออ้างอิง • สำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน). ตำราเทคโนโลยี อวกาศและภูมิสารสนเทศศาสตร์. กรุงเทพฯ. อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พลับลิชชิ่ง จำกัด. • สรรค์ใจ กลิ่นดาว. (2542). ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์: หลักการเบื้องต้น. กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. • สุเพชร จิรขจรกุล. (2549). ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์และการใช้โปรแกรม ArcGIS Desktop เวอร์ชั่น9.1. กรุงเทพฯ. เอสอาร์พริ้นติ้งแมสโปรดักส์ จำกัด. คะแนน • - ทดสอบย่อย 10% • - สอบกลางภาค35% • - สอบปลายภาค35% • - รายงาน15% • - แบบฝึกหัด 5%

  4. GIS--What is it? • สารสนเทศทางภูมิศาสตร์ • สารสนเทศเกี่ยวกับสถานที่ต่างๆที่ปรากฏบนพื้นโลก • สารสนเทศที่กล่าวถึงเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นบนโลกในลักษณะของ อะไร ที่ไหนอย่างไร เมื่อไหร่ • Geographic/geospatial: synonymous • GIS--what’s in the S? • Systems: เทคโนโลยี ที่รองรับการจัดการข้อมูลเชิงพื้นที่ • Science: แนวทางและทฤษฎี • Studies: การศึกษาถึงบริบทของพื้นที่

  5. GI Systems, Science and StudiesWhich will we do? • Systems • เทคโนโลยีที่ใช้จัดเก็บและจัดการข้อมูลเชิงพื้นที่ • Science • การทำความเข้าใจถึงบริบทของประเด็นต่างๆ ผ่านข้อมูลเชิงพื้นที่ ในช่วงเวลาต่างๆ • ทำความเข้าใจถึงทฤษฎีและบริบทที่อยู่เบื้องหลังเทคโนโลยีต่างๆ • Studies • การประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์เพื่อศึกษาถึงเหตุการณ์ต่างๆภายใต้ความถูกต้องทั้งในเชิงกฎหมายและจริยธรรม

  6. Defining Geographic Information Systems (GIS) • กระบวนการร่วมกันระหว่างข้อมูลเชิงพื้นที่และเทคนิคการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพื้นที่ (Tomlinson, 1972) • ความสามารถของเครื่องมือสำหรับการบันทึก การจัดเก็บ การเรียกใช้งาน การแปลง และการแสดงผลข้อมูลเชิงพื้นที่ ที่ปรากฏอยู่บนพื้นโลก (Burroughs, 1986) • ระบบการจัดการฐานข้อมูลบนคอมพิวเตอร์สำหรับการรวบรวม จัดเก็บ การเรียกใช้ การวิเคราะห์ และการแสดงผลข้อมูลเชิงพื้นที่ (NCGIA, 1987) • ระบบที่ช่วยในการตัดสินใจ โดยใช้การบูรณาการระหว่างข้อมูลเชิงพื้นที่ เพื่อหาคำตอบทางด้านสิ่งแวดล้อม (Cowen, 1988)

  7. สรุปความหมายของระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์สรุปความหมายของระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ • ระบบที่ทำหน้าที่ในการรวบรวม จัดเก็บ ตรวจสอบ บูรณาการ และวิเคราะห์ และแสดงผลข้อมูลเชิงพื้นที่ โดยมีพิกัดที่สามารถอ้างอิงได้บนพื้นโลก โดยใช้อุปกรณ์คอมพิวเตอร์และซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ในการทำงาน • ระบบสารสนเทศเฉพาะทางที่จัดเก็บข้อมูลเชิงพื้นที่ในรูปแบบฐานข้อมูล ซึ่งประกอบไปด้วย กิจกรรมหรือเหตุการณ์ในช่วงเวลาต่างๆ ในเชิงพื้นที่ โดยเก็บอยู่ในรูปแบบของ จุด เส้น และพื้นที่ ซึ่งสามารถทำการสืบค้นและข้อมูลเชิงพื้นที่ได้

  8. An Inelegant Definition for GISy การบูรณาการบนระระบบคอมพิวเตอร์แบบเบ็ดเสร็จสำหรับการจัดการข้อมูลเชิงพื้นที่ปรากฏอยู่บนพื้นผิวโลกเพื่อหาความสัมพันธ์และสามารถจัดการ ตัดสินใจ โดยอยู่บนพื้นฐานของวิทยาศาสตร์ • ชุดเครื่องมือสำหรับวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพื้นที่ • ครอบคลุมกระบวนการทั้งหมดในการจัดการข้อมูลเชิงพื้นที่ • รวบรวม จัดเก็บ เรียกใช้งาน วิเคราะห์ ปรับปรุง และแสดงผล • ใช้ตำแหน่งที่ชัดเจนบนพื้นโลกในการสร้างความสัมพันธ์กับข้อมูล • การดำเนินงานที่มุ่งสนับสนุนการตัดสินใจ และสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมทางวิทยาศาสตร์

  9. ภูมิสารสนเทศศาสตร์ Geoinformatics • ระบบกำหนดตำแหน่งบนโลก Global Positioning Systems (GPS) • ระบบการกำหนดตำแหน่งบนโลก ที่สามารถให้ค่าความถูกต้องเชิงตำแหน่งบนพื้นโลกได้ตั้งแต่ 100 เมตร จนถึงระดับมิลลิเมตร โดยแสดงอยู่ในรูปแบบของค่าพิกัด • การสำรวจข้อมูลจากระยะไกล Remote Sensing (RS) • การได้มาซึ่งข้อมูลโดยไม่จำเป็นต้องสัมผัสกับข้อมูล • การใช้งานดาวเทียมในการถ่ายภาพพื้นผิวของโลกและส่งข้อมูลภาพกลับมายังสถานีรับบนพื้นโลก • ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ Geographic Information Systems (GIS) • ระบบซอฟต์แวร์ที่ทำหน้าที่ในการรวบรวม จัดเก็บ จัดการ วิเคราะห์ และแสดงผลข้อมูลเชิงพื้นที่ * ข้อมูลที่ได้จาก GPS และ RS จะนำเข้าไปจัดการ วิเคราะห์ และแสดงผลในระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์

  10. Geographic Information System: คำอธิบายอย่างง่ายๆของ GIS • เป็นการแสดงข้อมูลเชิงพื้นที่ โดยมีฐานข้อมูลเชิงพื้นที่รองรับอยู่เบื้องหลัง • ใช้สำหรับจำลองโครงสร้างข้อมูลเชิงพื้นที่ที่ปรากฏอยู่บนพื้นโลกจริง • มีความถูกต้องตรงกันสิ่งที่ปรากฏอยู่จริงในพื้นที่ ทั้งสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้นและสิ่งที่เกิดขึ้นโดยธรรมชาติ โดยที่ • มีกระบวนการสืบค้นข้อมูล • มีการสรุปข้อมูลเพื่อรองรับการตัดสินใจและสามารถกำหนดเป็นแนวทางหรือนโยบายได้ • มีการวิเคราะห์โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศสาสตร์

  11. How GIS differs from Related Systems ความแตกต่างของระบบ GIS จากระบบอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง • ระบบการจัดการฐานข้อมูล (DBMS)—เป็นฐานข้อมูลที่เรียกว่า MIS ซึ่งความชัดเจนเกี่ยวกับข้อมูลเชิงบรรยายแต่ขาดความชัดเจนในด้านข้อมูลเชิงตำแหน่ง • สามารถบอกถึงชื่อเมือง ประเทศ รหัสประเทศ แต่ไม่มีการบอกถึงค่าหรือระบบพิกัดที่แน่นอน • บอกรายละเอียดได้ในระดับหนึ่งได้เช่น เมือง A อยู่ใกล้เมือง B แต่ไม่ใกล้กับเมือง C เป็นต้น • Automated Mapping (AM)–เป็นการแสดงผลข้อมูลเชิงพื้นที่ในรูปแบบของแผนที่ 2 มิติ • แผนที่เฉพาะเรื่อง • มีข้อจำกัดในการนำฐานข้อมูลเชิงพื้นที่มาแสดงผล เนื่องจากแสดงเป็นแผนที่แบบ 2 มิติ • Facility Management (FM) systems-- • ยังขาดเครื่องมือในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพื้นที่ • CAD/CAM(computer aided design/drafting)—เป็นระบบพื้นฐานในการสร้างและแสดงผลข้อมูลแบบ 3 มิติ • ไม่มีการอ้างอิงกับระบบพิกัด (ใช้พิกัดสมมุติ) • CAD จะมีมุมมองของโลกในลักษณะที่เป็นลูกบาศก์ (Cube)แต่ GIS จะเป็นมุมมองในลักษณะรูปทรงรี (Sphere) • ขาดคุณสมบัติในการสร้างนิพจน์สำหรับการสืบค้นข้อมูล (ไม่สามารถใช้ if any) • scientific visualization systems—สามารถแสดงผลข้อมูลได้หลากหลายมิติ แต่: • ขาดการใช้งานร่วมกับฐานข้อมูล • ขาดเครื่องมือการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพื้นที่ในลักษณะ 2 มิติ

  12. ทำไมจึงต้องเรียน GIS ? Why Study GIS? • 80% ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีความจำเป็นต้องใช้งานข้อมูลทางด้านภูมิศาสตร์ • อาณาเขต โซน ข้อมูลด้านสาธารณูปโภค แหล่งรวบรวมขยะ เจ้าของที่ดิน จุดหรือหน่วยบรรเทาสาธารณภัย เป็นต้น • ส่วนสำคัญในการพัฒนาประเทศจำเป็นต้องมีองค์ประกอบทางภูมิศาสตร์ • การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม • การขนส่งและเครือข่ายเส้นทางคมนาคม • ในด้านธุรกิจก็จำเป็นต้องใช่ GIS ในการประยุกต์กับงานด้านต่างๆ • การเลือกพื้นที่เพื่อบริการลูกค้า • การขนส่ง: ประเภทยานพาหนะ การติดตามยานพาหนะ และเส้นทางการเดินรถ เป็นต้น • การสำรวจทรัพยากรธรรมชาติ เช่น น้ำมัน ก๊าซธรรมชาติ เป็นต้น • การประการผลผลิตทางการเกษตร • วิศวกรรมโยธา และด้านโครงสร้างพื้นฐาน • ด้านความมั่นคง • การวางแผนและการจัดการพื้นที่ในการรบ • การใช้งานและการตีความภาพถ่ายจากดาวเทียม • การวิจัยทางด้านวิทยาศาสตร์โดยใช้ GIS • ด้านภูมิศาสตร์ ธรณีวิทยา พฤกษศาสตร์ • มานุษยวิทยา สังคมวิทยา เศรษฐศาสตร์ รัฐศาสตร์ รัฐประศาสนศาสตร์ • ระบาดวิทยา อาชญวิทยา

  13. ตัวอย่างการประยุกต์ GIS: Examples of Applied GIS • การวางผังเมือง การจัดการและการกำหนดนโยบาย • การทำ Zoning, การวางผัง • สิทธิในการครอบครองที่ดิน • การพัฒนาด้านเศรษฐกิจ • หลักเกณฑ์การบังคับใช้ • โปรแกรมการปรับปรุงด้านที่อยู่อาศัย • การตอบสนองในเหตุฉุกเฉินต่างๆ • การวิเคราะห์ด้านอาชญากรรมในพื้นที่ • การจัดเก็บภาษี • ด้านทรัพยากรธรรมชาติ • การติดตามความเสี่ยงของทรัพยากร • การสสร้างแบบจำลองด้านภัยธรรมชาติ • การบริหารจัดการลุ่มน้ำ พื้นที่น้ำท่วม พื้นที่น้ำขัง ป่าไม้ การชลประทาน • การวิเคราะห์ผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม • การกำหนดเขตมลพิษและของเสียอันตราย • การทำแบบจำลองน้ำใต้ดิน และการปนเปื้อนของน้ำใต้ดิน • ด้านรัฐศาสตร์ • การวิเคราะห์ผลการเลือกตั้ง • การสร้างแบบจำลองเพื่อการคาดการณ์ด้านต่างๆ

  14. ตัวอย่างการประยุกต์ GIS: Examples of Applied GIS • ด้านที่ดิน และทะเบียนทรัพย์สิน • การประเมินราคาที่ดิน • การวิเคราะห์ผลกระทบด้านการจราจร • การกำหนดเขตที่ดินที่มีศักยภาพ • ด้านสาธารณสุข • ระบาดวิทยา • การวิเคราะห์ความต้องการด้านสาธารณสุข • การกำหนดประเภทของการให้บริการด้านสาธารณสุข • ด้านวิศวกรรมโยธา • การกำหนดตำแหน่งการวางสาธารณูปโภคใต้พื้นดิน • การออกแบบการวางแนวถนนที่ไม่จำกัดความเร็ว (freeways) และการขนส่ง • การกำหนดจุดซ่อมบำรุงโครงสร้างพื้นฐาน • ด้านธุรกิจ • การวิเคราะห์ด้านประชากร • การวิเคราะห์การเจาะกลุ่มตลาด/ การแบ่งส่วนการตลาด • การเลือกตำแหน่งที่ตั้งสำหรับการบริการ • การบริหารการศึกษา • การปรับปรุงพื้นที่การศึกษา • การวางแผนในการเก็บข้อมูลการศึกษา • การกำหนดเส้นทางเดินรถในการรับ ส่ง นักเรียน

  15. การประยุกต์ GIS ทำอะไรได้บ้าง What GIS Applications Do:manage, analyze, communicate • ทำให้การใช้ประโยชน์ข้อมูลทางภูมิศาสตร์เป็นได้ในทุกๆ กิจกรรมในพื้นที่ • การผลิตแผนที่ • การคำนวณขนาดพื้นที่ ระยะทาง เส้นทางที่เหมาะสม • การหาค่าความลาดชัน ทิศทาง และความสูงตำของภูมิประเทศ • ด้านการขนส่ง: เส้นทางที่เหมาะสม การติดตามยานพาหนะ การจัดการจราจร • มีการบูรณาการร่วมกันระหว่างข้อมูลในอดีตและปัจจุบัน และสามารถหาคำตอบในเชิงพื้นที่ได้ (e.g property maps and air photos).

  16. การประยุกต์ GIS ทำอะไรได้บ้าง What GIS Applications Do:manage, analyze, communicate • เชื่อมโยงความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลภูมิศาสตร์ไปเป็นลักษณะของแผนที่ และสามารถอธิบายถึงความซับซ้อนของข้อมูลเชิงพื้นที่ที่มีความหลากหลายได้อย่างกระทดรัด และกระชับ (e.gความอ่อนไหวของสภาพแวดล้อม environmental sensitivity). • สามารถหาคำตอบเชิงพื้นที่ไดhโดยใช้กระบวนการสืบค้นข้อมูล • สามารถดำเนินการบนแบบจำลองเชิงพื้นที่ที่มีความหลากหลายและซับซ้อนได้(what if scenarios for transportation planning, disaster planning, resource management, utility design)

  17. โครงสร้างและองค์ประกอบในระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์GIS System Architecture and Components Data Input Query Input Geographic Database Transformation and Analysis Output: Display and Reporting

  18. ARC/INFOไ Hardware Data Software People Process องค์ประกอบของ GIS GIS

  19. GIS ความรู้พื้นฐานที่สำคัญสำหรับ GISKnowledge Base for GIS Computer Science/MIS กราฟิก การสร้า/ ตกแต่งภาพ ฐานข้อมูล การบริหารจัดการระบบ การรักษาความปลอดภัยข้อมูล Application Area: รัฐประศาสนศาสตร์ การวางผังเมือง ธรณีวิทยา การสำรวจเชิงพื้นที่ ป่าไม้ การเลือกตำแหน่งที่ตั้งที่เหมาะสม การตลาด วิศวกรรมโยธา หลักกฎหมายทางอาชญากรรม Geography and related: การทำแผนที่ ยีออเดซี โฟโตแกรมเมตรี ลักษณะภูมิประเทศ หลักสถิติเชิงพื้นที่

  20. Take a Break!

  21. The GIS Data Model แบบจำลองข้อมูลทางด้าน GIS

  22. แบบจำลองของข้อมูล GISThe GIS Data Model:Purpose • เพื่อทำการถ่ายทอดข้อมูลที่ปรากฏอยู่บนพื้นโลกเข้าสู่ข้อมูลในรูปแบบฐานข้อมูลเชิงพื้นที่ Digital สำหรับทำการดัดแปลง ปรับปรุง เพื่อให้สามารถวิเคราะห์ถึงสภาพปัญหาเชิงพื้นที่ได้

  23. 1121 1124 200 1123 1120 GIS Stores Data as Layers UTILITIES BUILDINGS TRANSPORTATION HYDROLOGY TOPOGRAPHIC PARCEL REALWORLD

  24. GIS Data = Graphics + Attributes Feature Examples Graphic Data Attribute Data - เสา - หม้อแปลง - สวิทช์ - ความสูงของเสา - Rating KVA - สถานะของสวิทช์ จุด Point เส้น Arc - ถนน - สายไฟ - ประเภทของถนน - ขนาดของสายไฟ พื้นที่ Polygon - เขตอำเภอ - แหล่งน้ำ - จำนวนประชากร - ประเภทแหล่งน้ำ

  25. GIS Data Architecture Related Attribute Data Spatial Data

  26. GIS DATA พื้นที่ = 204.56 ตร.กม. ประชากร = 20,000 คน พื้นที่เพาะปลูก = นาข้าว : : : Attribute Spatial or Graphic

  27. X, Y การเก็บข้อมูลแบบ Raster • เก็บข้อมูลในรูปแบบของข้อมูลเชิงจุด (Cell-based) ในตารางกริต (GRID) • แต่ละช่องใช้เก็บค่าของข้อมูลเรียกว่า Pixel • เหมาะสำหรับการวิเคราะห์ ข้อมูลเชิงพื้นที่ (Spatial Analysis)

  28. ข้อมูลทั้งสองรูปแบบสามารถแปลงไปมาได้ข้อมูลทั้งสองรูปแบบสามารถแปลงไปมาได้ Raster Vector

  29. Concept of Vector and Raster Real World Raster Representation Vector Representation point line polygon

  30. 1121 1124 200 1123 1120 • GIS Stores Data as Layers UTILITIES BUILDINGS TRANSPORTATION HYDROLOGY TOPOGRAPHIC PARCEL REALWORLD

  31. Administrative Boundaries Utilities Zoning Buildings Parcels Hydrography Streets Digital Orthophoto The GIS Data Model: ImplementationGeographic Integration of Information • Data is organized by layers, coverages orthemes (synonomous concepts), with each layer representing a common feature. • Layers are integrated using explicit location on the earth’s surface, thus geographic location is the organizing principal.

  32. C B D A B-2 C-2 B-1 E D-2 A-1 D-3 A-3 E-3 2 1 การเพาะปลูกพืชในพื้นที่จังหวัดต่างๆ 3 การวิเคราะห์ซ้อนทับพื้นที่ (SpatialOverlay Analysis) พื้นที่เพาะปลูก เขตจังหวัด

  33. Smart Vector—Pavement polygons Dumb Images & Smart GIS Data Smart Raster—5 feet grids Images—dumb rasters (although they look good!)

  34. Examples

  35. 0 3000 Feet 1500 Layers Vector Layers ชั้นข้อมูลเส้นทางคมนาคม: lines ชั้นข้อมูลแปลงที่ดิน: polygons Raster (image) Layer Digital Ortho Photograph Layer: Digital Ortho photo: combines the visual properties of a photograph with the positional accuracy of a map, in computer readable form. Projection: State Plane, North Central Texas Zone, NAD 83 Resolution: 0.5 meters Accuracy: 1.0 meters Scale: see scale bar

  36. Overlay based on Common Geographic Location

  37. Analysis Data Table Scanned Drawing Photographic Image Parcels within a half mile buffer of Park and Central

  38. Vector Layers Attribute Tables Raster Layers Anatomy of a GIS Database:City of Plano

More Related