1 / 18

ขอบเขตของการศึกษา รัฐประศาสนศาสตร์

ขอบเขตของการศึกษา รัฐประศาสนศาสตร์. การศึกษารัฐประศาสนศาสตร์ คืออะไร. การศึกษารัฐประศาสนศาสตร์ คือ การศึกษา การบริหารงานของภาครัฐ ที่ทำให้เกิดประโยชน์ต่อส่วนรวมและสังคมมากที่สุด ซึ่งจะ ต้องศึกษาถึงองค์ความรู้และแนวคิดที่สร้างขึ้นเป็นรัฐประศาสนศาสตร์. กรอบการวิเคราะห์การศึกษา รัฐประศาสนศาสตร์.

travis-ryan
Download Presentation

ขอบเขตของการศึกษา รัฐประศาสนศาสตร์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ขอบเขตของการศึกษารัฐประศาสนศาสตร์ขอบเขตของการศึกษารัฐประศาสนศาสตร์

  2. การศึกษารัฐประศาสนศาสตร์คืออะไรการศึกษารัฐประศาสนศาสตร์คืออะไร การศึกษารัฐประศาสนศาสตร์ คือ การศึกษาการบริหารงานของภาครัฐ ที่ทำให้เกิดประโยชน์ต่อส่วนรวมและสังคมมากที่สุดซึ่งจะต้องศึกษาถึงองค์ความรู้และแนวคิดที่สร้างขึ้นเป็นรัฐประศาสนศาสตร์

  3. กรอบการวิเคราะห์การศึกษารัฐประศาสนศาสตร์กรอบการวิเคราะห์การศึกษารัฐประศาสนศาสตร์ สามารถแบ่งแนวการวิเคราะห์ออกเป็น 3 แบบดังนี้

  4. 1. กรอบการวิเคราะห์แบบหลายส่วนที่เชื่อมกัน (Cross-Section Approach) เป็นการศึกษาถึงส่วนต่างๆที่เกี่ยวข้อง เพื่อนำองค์ความรู้เหล่านั้นมากำหนดขอบเขตและรายละเอียดของการศึกษารัฐประศาสนศาสตร์

  5. 2. กรอบการวิเคราะห์แบบเชิงพัฒนาการ (Historical Approach) เป็นการศึกษาพัฒนาการของบทบาทของรัฐตั้งแต่อดีตมาจนถึงปัจจุบันซึ่งตั้งแต่อดีตมาจนถึงปัจจุบันบท-บาทของรัฐมีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างมากทำให้เราสามารถทราบได้ว่าบทบาทของรัฐมีการเปลี่ยนแปลงไปในทิศทางใดและบทบาทแบบไหนเป็นบทบาทที่เหมาะ-สมที่สุดสำหรับภาครัฐ

  6. 3. กรอบการวิเคราะห์แบบเชิงกฎหมาย (Legal Approach) • เป็นการศีกษาเรื่องของใช้อำนาจของรัฐในการบริหารงานอำนาจที่กล่าวถึงคืออำนาจอธิปไตย ที่มีอยู่ด้วยกัน 3 ด้านได้แก่ • อำนาจด้านนิติบัญญัติ (Legislative) • อำนาจด้านการบริหาร (Administration) • อำนาจด้านตุลาการ (Judicial)

  7. กระแสแนวคิดหลัก กระแสแนวคิดหลักนี้ผสมผสานกันขึ้นมาเป็นรัฐ-ประศาสนศาสตร์ในยุคใหม่ซึ่งกระแสแนวคิดหลักมีทั้งหมด 4 กระแส ประกอบไปด้วย

  8. 1.แนวคิดเศรษฐศาสตร์หรือเรียกว่า เศรษฐศาสตร์นีโอคลาสสิค (Neo-classicEconomics) เป็นแนวความคิดของนักเศรษฐศาสตร์ให้ความสำคัญกับระบบตลาด (Market Mechanism) ต้องการให้เอกชนเข้ามาทำงานแทนรัฐในบางเรื่องแนวความคิดนี้จะเน้นอยู่ 2 เรื่องคือ -ประสิทธิภาพ (Efficiency) -ความคุ้มค่าของเงิน (Value for Money)

  9. 2. แนวคิดการบริหารจัดการสมัยใหม่ (Managerialism) เป็นแนวความคิดของการบริหารสมัยใหม่ของภาคเอกชน (Business-like Approach) แนวคิดนี้เชื่อว่าวิธีการบริหารจัดการนั้นเหมือนกันทั้งในภาครัฐและภาคเอกชนจึงสนับสนุนให้มีการใช้วิธีการบริหารในภาคเอกชนมาใช้ในภาครัฐมากขึ้น แนวความคิดนี้จะเน้นอยู่ 3 เรื่องด้วยกันคือ -ประสิทธิผลหรือผลสัมฤทธิ์ (Effectiveness) -คุณภาพ (Quality) -ภาระรับผิดชอบ (Accountability)

  10. ภายหลังได้มีการนำแนวคิดที่ 1 และ 2 คือแนวคิดเศรษฐศาสตร์นีโอคลาสสิคและแนวคิดการบริหารจัดการสมัยใหม่มารวมกันทำให้เกิดแนวคิดใหม่ขึ้นมาซึ่งมีชื่อใหม่ว่า“การจัดการภาครัฐสมัยใหม่ (New Public Management: NPM)”

  11. 3. แนวคิดประชารัฐ(Participatory Stateหรือ Civil Society) เป็นแนวความคิดของนักรัฐศาสตร์ยุคใหม่เกิดขึ้นในช่วงหลังแนวคิด New Public Management (NPM) แนวคิดนี้ต้องการเห็นการมีส่วนทางตรงของประชาชนเพิ่มมากขึ้น แนวความคิดนี้เน้นถึงการมีส่วนร่วมของประชาชนมากที่สุด

  12. 4. แนวคิดกฎหมายมหาชน(Public Law) แนวความคิดนี้ได้รับอิทธิพลมาจากนักกฎหมายมหาชนคือไม่อยากเห็นรัฐบาลใช้อำนาจตามอำเภอใจหรือเกินขอบเขตหน้าที่ของตนแนวความคิดนี้เน้นอยู่ 2 เรื่องคือ -ความยุติธรรม -ความไม่ลำเอียงเลือกปฏิบัติ

  13. เครื่องมือของแต่ละแนวคิดเครื่องมือของแต่ละแนวคิด

  14. 1.เครื่องมือของแนวคิดเศรษฐศาสตร์หรือเรียกว่าเศรษฐศาสตร์นีโอคลาสสิค (Neo-classic Economics) ได้แก่ -ลดอัตรากำลังคนลง(Reduction in Force) -ปรับลดงบประมาณรายจ่าย(Cutback) -การแปรสภาพกิจการบางอย่างของภาครัฐให้เป็นรัฐวิสาหกิจหรือเป็นเอกชนมากขึ้น (PrivatizationหรือCorporatization) -การเปิดโอกาสให้ภาคเอกชนสามารถเข้ามาเสนอที่จะทำในสิ่งที่ภาครัฐต้องการจะทำ (Market Testing หรือ Contestability)

  15. 2. เครื่องมือของแนวคิดManagerialism (แนวการจัดการสมัยใหม่)แนวคิดนี้มีคำขวัญที่ว่า“Let the manager manage”คือให้ผู้บริหารงานหน่วยงานต่างๆมีอำนาจในการบริหารงานเองจึงได้มีการกำหนดเครื่องมือดังนี้ -การลดการควบคุมของหน่วยงานกลาง(Devolution of the Centralized Control) -การยกเลิกกฎระเบียบหรือกติกาที่ให้ส่วนราชการปฏิบัติตามบางส่วน(Deregulation) เพื่อสามารถที่จะบริหารงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ -การปรับลดขนาดของระบบราชการลง (Downsizing)

  16. 3. เครื่องมือของแนวคิดประชารัฐ(Participatory State) หรือ Civil Societyได้แก่ -การรับฟังความคิดเห็นของประชาชน (Public Hearing) -พรบ. ข้อมูลข่าวสารฯพศ.2540 -ความโปร่งใส (Transparency) -การกระจายอำนาจ(Decentralization) 4. เครื่องมือของแนวความคิดนักกฎหมายมหาชน (PublicLaw)ได้แก่ -หลักนิติรัฐ (Rule of Law) เป็นการสร้างกฎหมายเพื่อต่อสู้กับชนชั้นปกครอง

  17. กรอบการวิเคราะห์ทางรัฐประศาสนศาสตร์กรอบการวิเคราะห์ทางรัฐประศาสนศาสตร์ กรอบการวิเคราะห์ทางรัฐประศาสนศาสตร์ ขอบข่ายของการศึกษารัฐประศาสน-ศาสตร์ กระแสแนวคิดหลัก 4 กระแส เครื่องมือของกระแสแนวคิดหลัก

  18. จัดทำโดย น.ส. ศรัญญา เจียงทิพากร ID : 4741643024 คณะรัฐศาสตร์ ภาควิชารัฐประศาสนศาสตร์

More Related