1 / 61

คอมพิวเตอร์ และ พัฒนาการ

คอมพิวเตอร์ และ พัฒนาการ. The early period : up to 1940. เมื่อ 5000 ปีที่ผ่านมา ชาวจีนได้ประดิษฐ์เครื่องคำนวณเครื่องแรก คือ ลูกคิด ครึ่งแรกของศตวรรษที่ 17 ได้มีงานวิจัยและการพัฒนาเพื่อช่วยงานทางคณิตศาสตร์จำนวนมาก. The early period : up to 1940.

toby
Download Presentation

คอมพิวเตอร์ และ พัฒนาการ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. คอมพิวเตอร์ และ พัฒนาการ

  2. The early period : up to 1940 • เมื่อ 5000 ปีที่ผ่านมา ชาวจีนได้ประดิษฐ์เครื่องคำนวณเครื่องแรก คือ ลูกคิด • ครึ่งแรกของศตวรรษที่ 17 ได้มีงานวิจัยและการพัฒนาเพื่อช่วยงานทางคณิตศาสตร์จำนวนมาก

  3. The early period : up to 1940 • 1622 มีการใช้ไม้บรรทัดเลื่อน (slide rule) เป็นครั้งแรก

  4. The early period : up to 1940

  5. The early period : up to 1940 1642 Blaise Pascal นักคณิตศาสตร์ชาวฝรั่งเศส ออกแบบและสร้างเครื่องคิดเลขจักรกลชื่อ Pascaline มีที่แสดงตัวเลขด้านบน สามารถบวก ลบเลขระบบเกียร์ โดยใช้หลักการหมุนของฟันเฟืองและการทดเลข โดยที่เฟืองแต่ละตัวจะมีฟัน 10 ซี่ วางเรียงกัน เมื่อเฟืองหมุนครบรอบจะทำให้ตัวที่อยู่ถัดไปปรับค่าขึ้น 1 ค่า เช่นเดียวกับที่มิเตอร์ระยะทางในรถยนต์

  6. Leibnits’s wheel • นักคณิตศาสตร์ชาวเยอรมัน Gottfried Leibnitz เป็นหนึ่งในผู้คิดค้นแคลคูลัส ร่วมกับ Isaac Newton ได้มีแนวคิดเกี่ยวกับ การคำนวณอัตโนมัติ และได้ศึกษางานของปาสกาลและคนอื่น ในค.ศ. 1674 ได้สร้างเครื่องคิดเลขจักรกล เรียกว่า Leibnits’s wheel สามารถบวก ลบ คูณ หาร ได้เร็วกว่าใช้มือหลายเท่า

  7. Leibnits’s wheel • เครื่องLeibnits’s wheel ไม่ถือว่าเป็นคอมพิวเตอร์เพราะขาดคุณลักษณะพื้นฐาน 2 ประการ • ไม่มีความจำสำหรับเก็บข่าวสารในรูปแบบที่เครื่องอ่านได้ • ไม่สามารถรันโปรแกรมได้

  8. Charles Babbage • ศาสตราจารย์สาขาคณิตศาสตร์แห่งมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ • สนใจเครื่องคำนวณอตโนมัติ • 1823 ศึกษาแนวคิดของ Pascal และ Leibnitz และสร้าง Difference Engine ที่สามารถบวก ลบ คูณ และหารได้ทศนิยมถึง 6 หลัก สามารถแก้ปัญหาสมการโพลิโนเมียลและปัญหาคณิตศาสตร์ที่ซับซ้อนได้ • พยายามสร้างโมเดลขนาดใหญ่ของ Difference Engine ให้สามารถคำนวณมีความถูกต้องทศนิยม 20 หลัก เป็นเวลา 12 ปีจึงล้มเลิกความพยายาม เพราะเทคโนโลยีในทศวรรษ 1820, 1830 ไม่เพียงพอสำหรับโมเดลดังกล่าว

  9. Difference Engine

  10. Charles Babbage • ทศวรรษ 1830 ได้ออกแบบเครื่องคำนวณชื่อ Analytic Engine สำหรับใช้กับงานทั่วไป มีประสิทธิภาพสูง สามารถใช้กับช่วงตัวเลขได้มากขึ้น มีส่วนประกอบ 4 ส่วน ดังนี้ • mill ทำหน้าที่คำนวณและเปรียบเทียบ • store ใช้เก็บข้อมูล • operator ใช้ประมวลผลคำสั่งในบัตรเจาะรู • output unit นำผลที่ได้ใส่ลงในบัตรเจาะรูอีกชุดหนึ่ง • เสียชีวิตก่อนที่ Analytic Engine จะเสร็จ • ทิ้งแนวคิดที่อยู่บนกระดาษและความฝันให้เป็นมรดกของนักวิทยาศาสตร์รุ่นหลัง

  11. Herman Hollerith • นักสถิติ ประจำ U.S. Census Bureau • สนใจงานของ Pascal, Jacquard, Babbage • ออกแบบและสร้างเครื่องจักรประมวลผลบัตร ใช้มอเตอร์ไฟฟ้า ให้สามารถอ่าน นับ และเรียงลำดับและตรวจสอบข้อมูลก่อนที่จะบันทึกในบัตรเจาะรู

  12. 1890 US’s census • สำมะโนประชากรปี 1880 ใช้เวลาประมวลผล 8 ปี • จากประมาณการ ในการแจงนับโดยใช้แรงคนต้องใช้เวลาประมาณ 10 ถึง 12 ปี จึงทำให้สำมะโนประชากรปี 1900 ต้องเริ่มทำก่อนที่การประมวลผลปี 1890 จะเสร็จสิ้น • เมื่อมีการปรับเปลี่ยนไปใช้เครื่องและอุปกรณ์ของ Hollerith ทำให้การประมวลผลเสร็จใน 2 ปี ทั้งที่งานเพิ่มขึ้น 30 %

  13. Programmable card processing machine • บันทึกข้อมูลลงในบัตรเจาะรู (punched card) โดยใช้เครื่อง keypunch

  14. Programmable card processing machine • นำบัตรเจาะรูใส่ใน tabulator เพื่อนับจำนวน

  15. Programmable card processing machine • นำบัตรเจาะรูใส่ใน sorter เพื่อเรียงลำดับข้อมูล

  16. Programmable card processing machine • ทั้งเครื่อง tabulator และ sorter สามารถใส่โปรแกรมได้ จึงสามารถเลือกได้ในบางอย่าง อาทิ เลือกจะเรียงลำดับตามคอลัมภ์ใด หรือ จะนับบัตรใบไหนบ้าง นอกจากนี้ ยังมีหน่วยความจำขนาดเล็กสำหรับเก็บผลการทำงานด้วย ดังนั้นเครื่องทั้งสองจึงมีส่วนประกอบ 4 ส่วน เช่นเดียวกับเครื่อง Analytic engine ของ Babbage • เครื่องของ Hollerith ประสบความสำเร็จอย่างมาก นับว่าเป็นเครื่องแรกเครื่องหนึ่งที่เป็นตัวอย่างการประมวลผลอัตโนมัติที่ช่วยแก้ปัญหาขนาดใหญ่

  17. The birth of computers : 1940-1950 • สงครามโลกครั้งที่ 2 ได้สร้างปัญหาความแตกต่างของข้อมูลข่าวสารขึ้น อาทิ ข้อมูลการใช้ทหาร ข้อมูลขีปนาวุธ รหัสลับ และมีโครงการวิจัยเพื่อสร้างเครื่องคำนวณอัตโนมัติจำนวนมาก ส่วนใหญ่ได้รับทุนจากหน่วยงานทหาร • ค.ศ.1931 กองทัพเรือสหรัฐร่วมกับไอบีเอ็มให้ทุนศ.โฮเวิร์ด ไอเคนสร้างอุปกรณ์คำนวณ Mark I

  18. Mark I อุปกรณ์คำนวณ Mark I มีลักษณะดังนี้ • สำหรับใช้งานทั่วไป • สามารถใส่โปรแกรม • สามารถบวก ลบ คูณ หาร • มีฟังก์ชัน ลอการิทึม ตรีโกณ • เก็บข้อมูลได้ • เป็นอุปกรณ์คำนวณเครื่องแรกที่ใช้เลขฐาน 2 • ใช้หลอดสูญญากาศและกระแสไฟฟ้าเพื่อแทนค่าของเลขฐาน 2 • ได้ค่า 1 เมื่อหลอดไฟติด • ได้ค่า 0 เมื่อหลอดไฟดับ สำเร็จค.ศ. 1944 เป็นเวลา 110 ปี หลังความฝันของ Babbage • นับว่าเป็นหนึ่งในคอมพิวเตอร์ที่ทำงานทั่วไปเครื่องแรก

  19. Mark I อุปกรณ์คำนวณ Mark I มีลักษณะดังนี้ • ควบคุมด้วยเทปกระดาษ • ความจำจุตัวเลขได้ 72 ค่า • สามารถรันโปรแกรมที่คูณเลข 23 หลักได้ใน 4 วินาที • ใช้งานอยู่เกือบ 15 ปี • ช่วยงานทางคณิตศาสตร์ กองทัพเรือสหรัฐ ระหว่างสงคราม

  20. ยาว 55 ฟุต สูง8 ฟุต หนัก 5 ตัน ประกอบด้วย 760,000 ชิ้น Mark I

  21. Electronic Numerical Integrator Analyzer and Calculator John Presper Eckert และ John W. Mauchly มหาวิทยาลัยเพ็นซิลวาเนียร่วมมือกับกองทัพบกสหรัฐได้สร้างคอมพิวเตอร์ที่มีประสิทธิภาพขึ้น คือ ENIAC เสร็จในค.ศ. 1946 ใช้คำนวณหาตำแหน่งที่ตั้งของฝ่ายตรงข้ามเพื่อทิ้งระเบิด $500,000 ($6,000,000 ปัจจุบัน) ENIAC

  22. Electronic Numerical Integrator Analyzer and Calculator ENIAC • ประกอบด้วยหลอดสูญญากาศ 18000 หลอด • ทำงานเร็วกว่า Mark I • สามารถประมวลผลคำสั่งได้ 100,000 คำสั่งต่อนาที • สามารถบวกเลข 10 หลัก 2 จำนวนในเวลา 1/5000 วินาที คูณเลข 2 จำนวนได้ในเวลา 1/300 วินาที เร็วกว่า Mark I 1000 เท่า • ใช้เวลาเซตระบบ 2 วัน ในการประมวลผล 2 วินาที • ใช้ไฟฟ้า 200 กิโลวัตต์ต่อชั่วโมง

  23. ENIAC ยาว 100 ฟุต สูง 10 ฟุต หนัก 30 ตัน สายไฟยาวมากกว่า 500 ไมล์

  24. ENIAC vacuum tubes in holders

  25. คอมพิวเตอร์เครื่องแรกคอมพิวเตอร์เครื่องแรก • Mark I และ ENIAC เป็นตัวอย่างคอมพิวเตอร์ยุคต้นที่มีชื่อเสียง • แต่คอมพิวเตอร์เครื่องแรก น่าจะเป็น ABC system (Atanasoff-Berry Computer) ออกแบบและสร้างโดย ศ. John Atanasoff และนิสิตปริญญาโท Clifford Berry แห่ง Iowa State University เมื่อค.ศ. 1939-1942 แต่ไม่ค่อยมีใครกล่าวถึงคอมพิวเตอร์เครื่องนี้ เพราะนำไปใช้ประโยชน์เพียงงานเดียวคือ ระบบแก้ปัญหาของsimultaneous linear equation

  26. Colossus • Colossus สร้างเมื่อค.ศ. 1943 ที่อังกฤษ จากคำแนะนำของ Alan Turing ซึ่งเป็นทั้งนักคณิตศาสตร์และนักวิทยาการคอมพิวเตอร์

  27. Colossus • ไม่มีหน่วยความจำ • เก็บข้อมูลได้ <= 20000 ตัวอักษร (5 บิต) ไว้ในเทปกระดาษ • เป็นคอมพิวเตอร์เครื่องแรกสร้างนอกสหรัฐ • ใช้สำหรับถอดรหัสข้อความภาษาเยอรมันที่เข้ารหัสโดยเครื่อง Enigma • ไม่เป็นที่รู้จัก เพราะโครงการเป็นความลับ ใช้ในสงครามโลก เปิดเผยหลังสิ้นสุดสงครามในหลายปีต่อมา

  28. เครื่องเข้าและถอดรหัสภาษาเยอรมันเครื่องเข้าและถอดรหัสภาษาเยอรมัน

  29. Z1 • ค.ศ. 1936-1938 วิศวกรชาวเยอรมันชื่อ Konrad Zuse ได้ทำงานด้าน computing ให้กองทัพเยอรมัน ได้ออกแบบคอมพิวเตอร์ Z1 มีลักษณะคล้าย ENIAC คือสามารถป้อนโปรแกรมผ่านเทปเจาะรู ใช้งานทั่วไป เป็นอุปกรณ์คำนวณอิเล็คทรอนิก • Z1 ถูกทำลายโดยกองทัพพันธมิตรในสงครามโลก

  30. Computer Age • 1951 John Von Neuman สร้างเครื่อง EDVAC เป็นคอมพิวเตอร์เครื่องแรกที่สามารถเก็บโปรแกรมไว้ในเครื่องได้ • ในเวลาใกล้เคียงกัน มีการสร้างเครื่อง EDSAC ที่มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ภายใต้คำแนะนำของ ศ. Maurice Wilkes • การเกิดขึ้นของคอมพิวเตอร์เหล่านี้ ถือเป็นการก้าวเข้าสู่ยุคของคอมพิวเตอร์สมัยใหม่ • เครื่องจำลองของ EDVAC เรียกว่า UNIVAC I เป็นคอมพิวเตอร์เครื่องแรกที่มีการจำหน่าย ส่งไปยังหน่วยสำมะโนของสหรัฐ เมื่อ 31 Mar 1951 มีการใช้งานเป็นเวลา 12 ปี จึงถือวันนี้เป็นวันเริ่มต้นของยุคคอมพิวเตอร์

  31. Computer Age • 1951 John Von Neuman สร้างเครื่อง EDVAC เป็นคอมพิวเตอร์เครื่องแรกที่สามารถเก็บโปรแกรมไว้ในเครื่องได้ • ในเวลาใกล้เคียงกัน มีการสร้างเครื่อง EDSAC ที่มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ภายใต้คำแนะนำของ ศ. Maurice Wilkes • การเกิดขึ้นของคอมพิวเตอร์เหล่านี้ ถือเป็นการก้าวเข้าสู่ยุคของคอมพิวเตอร์สมัยใหม่ • เครื่องจำลองของ EDVAC เรียกว่า UNIVAC I เป็นคอมพิวเตอร์เครื่องแรกที่มีการจำหน่าย ส่งไปยังหน่วยสำมะโนของสหรัฐ เมื่อ 31 Mar 1951 มีการใช้งานเป็นเวลา 12 ปี จึงถือวันนี้เป็นวันเริ่มต้นของยุคคอมพิวเตอร์

  32. The first generation : 1950-1957 • UNIVAC I เป็นคอมพิวเตอร์เครื่องแรกที่สร้างเพื่อขาย สร้างโดย John Presper Eckert และ John W. Mauchly โดยได้รับความช่วยเหลือทางการเงินจาก บริษัท Remington Rand • เครื่องแรก ราคา 1,000,000 ดอลลาร์ • สร้าง 46 เครื่อง ขายให้ทั้งภาครัฐและเอกชน • บวก 120 microseconds • คูณ 1,800 microseconds • หาร 3,600 microseconds.

  33. The first generation : 1950-1957 • IBM 701 เป็นคอมพิวเตอร์เครื่องแรกที่สร้างโดยบริษัท IBM (International Business Machines) ซึ่งต่อมากลายเป็นผู้นำในการขายเครื่องคอมพิวเตอร์ ให้เช่าเดือนละ 15,000 ดอลลาร์

  34. The first generation : 1950-1957 • คอมพิวเตอร์มีขนาดใหญ่ แพง ทำงานช้า และยังไม่น่าเชื่อถือ ใช้หลอดสูญญากาศ (vacuum tube) สำหรับประมวลผลและจัดเก็บข้อมูล ยากต่อการดูแล ดังนั้น จึงใช้คอมพิวเตอร์ในสถานที่เฉพาะ อาทิ บริษัทขนาดใหญ่ ห้องปฏิบัติการของรัฐบาลและมหาวิทยาลัย เพราะต้องเสียค่าใช้จ่ายในการดูแลสูง • ใช้บัตรเจาะรูนำเข้าข้อมูล • ภาษาที่ใช้ ภาษาเครื่อง (Machine language) ภาษาเอสเซมบลี(Assembly)

  35. The second generation : 1957-1965 • มีการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ในขนาดและความซับซ้อนของคอมพิวเตอร์ • ปลายทศวรรษ 1950 • ใช้ทรานซิสเตอร์ขนาด 2-3 มิลลิเมตรแทนหลอดสูญญกาศ John Bardeen, William Shockley, Walter Brattain • หน่วยความจำสร้างจากแกนแม่เหล็กขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 1/50 นื้ว • เทคโนโลยีทั้งสอง ทำให้ขนาดของคอมพิวเตอร์เล็กลงอย่างมาก แต่ช่วยเพิ่มความน่าเชื่อถือ และลดราคาให้ต่ำลง ทำให้มีความเป็นไปได้ที่ หน่วยงานรัฐบาล ธุรกิจขนาดเล็กและกลางจะสามารถซื้อและใช้คอมพิวเตอร์ได้ • ใช้บัตรจะรูนำเข้าข้อมูล • โปรแกรมภาษาระดับสูง FORTRAN, COBOL

  36. Nobel prize in Physics in 1956

  37. The third generation: 1965-1975 • เป็นยุคของวงจรรวม(integrated circuits) โดยนำ ทรานซิสเตอร์ ความต้านทาน และคาพาซิเตอร์ จำนวนมากบรรจุลงในแผ่นซิลิคอน ทำให้สามารถลดขนาดและราคาของคอมพิวเตอร์ได้มาก จากขนาดเท่าอาคารมาเป็นขนาดเท่าห้อง จนถึงขนาดเท่าโต๊ะ • Medium scale integration circuits (100-3000)

  38. The third generation: 1965-1975 • บริษัทดิจิทัลอีควิบเมนต์ผลิตมินิคอมพิวเตอร์เครื่องแรก PDP-1 • เมนเฟรมคอมพิวเตอร์IBM /360, DEC PDP-8 • เกิดอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ อาทิ งานบัญชี โปรแกรมสถิติ • กลางทศวรรษ 1970 มีการใช้คอมพิวเตอร์กันแพร่หลาย

  39. The fourth generation : 1975-1985 • เทคโนโลยีวงจรรวมก้าวหน้าถึงขั้นที่สามารถนำระบบคอมพิวเตอร์ที่สมบูรณ์รวมไว้ที่บอร์ดวงจรเดียว (โดยนำtransistors จำนวน 15,000 ตัวเข้าไว้ในชิพซิลิกอนเพียงชิพเดียว) ที่เรียกว่าไมโครโพรเซสเซอร์ ทำให้คอมพิวเตอร์ลดขนาดจากเท่าโต๊ะกลายเป็นตั้งบนโต๊ะ • การรวม (LSI : Large Scale Integrated Circuit) • Large scale integrated circuits (3000-100000 ชิ้นส่วน) • Very large scale integrated circuits (ประกอบด้วย 100000-1000000 ชิ้นส่วน) • คอมพิวเตอร์ขนาดเล็กลง ราคาถูก มีความเชื่อถือได้มากขึ้น

  40. The fourth generation : 1975-1985 ไมโครโพรเซสเซอร์ตัวแรก ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของไมโครโพรเซสเซอร์ในปัจจุบัน • คือ 4004 สร้างขึ้นในปี 1971 โดยทางบริษัทอินเทล • ผู้คิดค้นและออกแบบคือ Marcian E. Hoffหน่วยความจำขนาด 4 บิตจำนวน 4,096 ตำแหน่ง

  41. The fourth generation : 1975-1985 1975 ผลิต Altair 8800 ไมโครคอมพิวเตอร์เครื่องแรกของโลก

  42. 1983 1980 1986

  43. The fourth generation : 1975-1985 • Software industry มีการผลิตซอฟต์แวร์หลายชนิด อาทิ โปรแกรมตารางทำการ ฐานข้อมูล โปรแกรมวาดภาพ • มีเครือข่ายคอมพิวเตอร์ • มีจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ • Graphical user interfaces • Embeded system

  44. The fifth generation : 1985-? เป็นคอมพิวเตอร์ที่มีความเฉลียวฉลาด สามารถคิดและตัดสินใจได้ • มีชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์มากกว่า หนึ่งล้านชิ้นใน 1 ชิป • คอมพิวเตอร์ความเร็วสูงประกอบด้วยตัวประมวลผลหลายตัว • แล็บท้อปและคอมพิวเตอร์มือถือ • หน่วยจัดเก็บข้อมูลขนาดใหญ่ • เครือข่ายคอมพิวเตอร์ทั่วโลก • ปัญญาประดิษฐ์

More Related