1 / 63

การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554

การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554. PMQA. ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ. ระดับกรมฯ : ตัวชี้วัดที่ 12 น้ำหนักร้อยละ 20 ระดับสำนัก : ตัวชี้วัดที่ 4.1 น้ำหนักร้อยละ 20. ผลการดำเนินการ PMQA.

skip
Download Presentation

การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 PMQA

  2. ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ระดับกรมฯ : ตัวชี้วัดที่ 12 น้ำหนักร้อยละ 20 ระดับสำนัก : ตัวชี้วัดที่ 4.1 น้ำหนักร้อยละ 20

  3. ผลการดำเนินการ PMQA

  4. ภาพรวมการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐภาพรวมการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ 4

  5. Japan Canada USA Australia EU Singapore Japan USA Thailand 1951 1984 1987 1988 1991 1994 1995 1999 2001 Deming Prize Canada Award Malcolm Baldrige National Quality Award Australian Business Excellence Awards European Foundation Quality Management Singapore Quality Award (SQA) Japan Quality Award (JQA) MBNQA : Education and Healthcare Thailand Quality Award (SQA) MBNQA Malcolm Baldrige National Quality Award รางวัลด้านคุณภาพของนานาประเทศ ประยุกต์ใช้กว่า 70 ประเทศ รางวัลคุณภาพแห่งชาติ (MBNQA) 5

  6. การนำ MBNQA มาใช้ในประเทศไทย SEPA PMQA TQA

  7. รางวัลคุณภาพแห่งชาติ TQA • คุณภาพแห่งชาติ (Thailand Quality Award: TQA) พัฒนามาจากแนวทางของรางวัล Malcolm Baldrige National Quality Award (MBNQA) • มีประเทศต่าง ๆ นำแนวทางไปประยุกต์เป็นเกณฑ์รางวัลคุณภาพของชาติตนมากกว่า 70 ประเทศ

  8. การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ Public Sector Management Quality Award PMQA 21 กระทรวง 138 กระทรวง 12 มหาวิทยาลัย 75 จังหวัด กำหนดเป็นตัวชี้วัดบังคับในคำรับรองปฏิบัติราชการ นับตั้งแต่ปี พ.ศ.2550 – ปัจจุบัน

  9. ความสอดคล้องของ TQA กับระบบราชการไทย พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2545 พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย (พ.ศ.2551-2555) แนวทางการบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่ ( New public management ) การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ ( Result ) การกำหนด/ถ่ายทอดตัวชี้วัด/การประเมินผลการปฏิบัติราชการ

  10. การจัดกลุ่มรัฐวิสาหกิจเพื่อเข้าสู่ระบบ SEPA

  11. TQM : Framework • ภารกิจที่ทำอยู่แล้ว • มีเอกสาร หลักฐาน • ไม่มีเอกสารหลักฐาน • ภารกิจที่ต้องทำเพิ่ม • เร่งด่วน • จำเป็น P. ลักษณะสำคัญขององค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย 2. การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ 5. การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล 1. การนำองค์การ 7. ผลลัพธ์ การดำเนินการ 6. การจัดการ กระบวนการ 3. การให้ความสำคัญ กับผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ 11

  12. วงจรคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐวงจรคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ 12

  13. กำหนดเป็นตัวชี้วัดสำหรับทุกส่วนราชการ 2549-ปัจจุบัน 2550 2549 2551 2552-ปัจจุบัน 2551 • น้ำหนักร้อยละ 20 • กำหนดเป็นตัวชี้วัดบังคับ • วัดความสำเร็จของแผนพัฒนาองค์การ • เกณฑ์PMQAระดับพื้นฐาน เป็นกรอบการประเมินความสำเร็จของแผนพัฒนาองค์การและเป็นแนวทาง “การเปลี่ยนแปลงทีละขั้น” • น้ำหนักร้อยละ 5 • กำหนดเป็นตัวชี้วัดบังคับ • วัดการดำเนินการแบบ Milestone • มุ่งเน้นการเรียนรู้และทำเข้าใจเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ วิเคราะห์โอกาสในการปรับปรุง • สำหรับส่วนราชการที่ดำเนินการต่อเนื่องจากปีงบประมาณ พ.ศ. 2549 จัดทำแผนปรับปรุงองค์กร และดำเนินการปรับปรุงองค์กร • น้ำหนักร้อยละ 22 • กำหนดเป็นตัวชี้วัดบังคับ • วัดผลการประเมินองค์กรในเชิงคุณภาพ • มุ่งเน้นการบูรณาการตัวชี้วัดที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาองค์กรนำมาผนวกเข้ากับตัวชี้วัดการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ โดยได้มีการประเมินองค์กรตามแนวทางการบริหารจัดการแบบ “ADLI” • น้ำหนักร้อยละ 5 • กำหนดเป็นตัวชี้วัดเลือก (ส่วนราชการเลือกจำนวน 114 ส่วนราชการ ประกอบด้วย 37 กรม 37 จังหวัด และ 40 มหาวิทยาลัย) • วัดการดำเนินการแบบ Milestone • มุ่งเน้นการเรียนรู้และทำความเข้าใจเกณฑ์คุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ เรียนรู้ ทำความเข้าใจ ทำแผนพัฒนาองค์กร เชื่อมโยง บูรณาการตัวชี้วัด วัดความสำเร็จของผลดำเนินการ หมวด 1-6 วัดผลลัพธ์การดำเนินการ หมวด 7 13

  14. เป้าหมายการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐเป้าหมายการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ 2552-ปัจจุบัน รางวัลคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ เข้าสู่การสมัครขอรับรางวัล PMQA รางวัลคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐรายหมวด พัฒนาสู่ความโดดเด่นรายหมวด เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับก้าวหน้า (Progressive Level) ผ่านการรับรองเกณฑ์ฯ 100 90 80 70 60 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Fundamental Level) 50 40 30 20 10 หมวด 2 หมวด 3 หมวด 1 หมวด 4 หมวด 5 หมวด 6 หมวด 7 ร้อยละของการ ผ่านเกณฑ์ 14

  15. Roadmap การพัฒนาองค์การ 2552 2554 2553 5 1 2 กรมด้านบริการ 6 3 4 • เน้นความสำคัญกับผู้รับบริการ โดยออกแบบกระบวนงานและพัฒนาบุคลากรให้สามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4 1 3 กรมด้านนโยบาย 6 2 5 • เน้นความสำคัญของยุทธศาสตร์และการนำไปปฏิบัติ โดยมีระบบการวัดผลการดำเนินการที่เป็นระบบ 2 1 5 จังหวัด 3 4 6 • เน้นความสำคัญของฐานข้อมูลในการผลักดันยุทธศาสตร์ภายใต้ระบบการนำองค์กรที่มีประสิทธิภาพ โดยยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง 1 3 2 Progressive Level สถาบันอุดมศึกษา 6 4 5 • เน้นความสำคัญของการกำหนดทิศทางองค์กรที่ชัดเจน และการพัฒนาบุคลากรเพื่อเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง 15

  16. ประเด็น/หลักฐานที่ต้องดำเนินการตามเกณฑ์การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐประเด็น/หลักฐานที่ต้องดำเนินการตามเกณฑ์การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ √ √ √ √ √

  17. หมวด 1 การนำองค์การ(Leadership) 17

  18. หมวด 1 การนำองค์การ(Leadership) 18

  19. หมวด 2 การวางแผนยุทธศาสตร์(Strategic Planning) 19

  20. หมวด 2 การวางแผนยุทธศาสตร์(Strategic Planning) 20

  21. หมวด 3 การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย(Customer and Stakeholder Focus) 21

  22. หมวด 3 การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย(Customer and Stakeholder Focus) 22

  23. หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์และการจัดการความรู้(Information and Technology) 23

  24. หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์และการจัดการความรู้(Information and Technology) 24

  25. หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล (Human Resource) 25

  26. หมวด 6 การจัดการกระบวนการ (Process Management) 26

  27. หมวด 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ (Result Management) 27

  28. หมวด 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ (Result Management) 28

  29. หมวด 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ (Result Management) 29

  30. หมวด 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ (Result Management) 30

  31. หมวด 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ (Result Management) ให้ส่วนราชการเลือกจากตัวชี้วัดแนะนำมาดำเนินการ หมวดละ 1 ตัวชี้วัด 31

  32. หมวด 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ (Result Management) 32

  33. 2. กรอบการประเมินผลตัวชี้วัดการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ สำหรับส่วนราชการระดับกรมประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 33

  34. การกำหนดตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการกำหนดตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 การประเมินผลตัวชี้วัด (เป็นตัวชี้วัดบังคับ) 34

  35. เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด PMQA 54 ตัวชี้วัดที่ 12.1 ร้อยละของการผ่านเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน เกณฑ์การให้คะแนน : วัดความสำเร็จของกระบวนการผ่านเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐานในหมวดที่ดำเนินการ โดยเกณฑ์การให้คะแนนแบ่งออกเป็นดังนี้ 35

  36. เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด PMQA 54 ตัวชี้วัดที่ 12.1 ร้อยละของการผ่านเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน 2553 2552 2554 5 2 1 กรมด้านบริการ 3 4 6 • เน้นความสำคัญกับผู้รับบริการ โดยออกแบบกระบวนงานและพัฒนาบุคลากรให้สามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ

  37. แบบฟอร์มรายงานผลตัวชี้วัด PMQA 54 • การรายงานผลคะแนนของตัวชี้วัดที่ 12 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐมีแนวทางดังนี้ 37

  38. เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด PMQA 54 ตัวชี้วัดที่ 12.2 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายความสำเร็จของผลลัพธ์การดำเนินการ (ผลลัพธ์ของกระบวนการ) ของส่วนราชการตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (หมวด 7) • ส่วนราชการเลือกตัวชี้วัดผลลัพธ์หมวด 1 – 6 ซึ่งเป็นตัวชี้วัดแนะนำของสำนักงาน ก.พ.ร. จำนวนหมวดละ 1 ตัวชี้วัด โดยแต่ละตัวชี้วัดมีค่าน้ำหนักคะแนนเท่ากันทุกตัวชี้วัด และผลรวมของน้ำหนักของทุกตัวชี้วัดรวมกันเท่ากับ 1 (รายละเอียดตัวชี้วัดผลลัพธ์ดังกล่าวปรากฏในภาคผนวก ข) ทั้งนี้ ให้ส่วนราชการแจ้งรายชื่อตัวชี้วัดที่เลือกดังกล่าวมาพร้อมกับการรายงานผลตามคำรับรองการปฏิบัติราชการรอบ 6 เดือนตามแบบฟอร์มที่ 1 ตารางและสูตรการคำนวณ : หมายเหตุ: เกณฑ์การให้คะแนนจะแตกต่างกันในแต่ละตัวชี้วัด โดยมีรายละเอียดตามภาคผนวก ข 38

  39. หมวด 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ (Result Management) ผลลัพธ์การดำเนินการที่กรมทางหลวงชนบทคัดเลือก 39

  40. แบบฟอร์มรายงานผลตัวชี้วัด PMQA 54 • การรายงานผลคะแนนของตัวชี้วัดที่ 12 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐมีแนวทางดังนี้ 40

  41. เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด PMQA 54 ตัวชี้วัดที่ 12.3 ระดับความสำเร็จของการประเมินองค์การด้วยตนเองตามแนวทางการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน เกณฑ์การให้คะแนน : 41

  42. ตัวชี้วัดที่ 12.3 ระดับความสำเร็จของการประเมินองค์การด้วยตนเองตามแนวทางการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน การรับรองการผ่านเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐตามโปรแกรม Self Certify

  43. แบบฟอร์มรายงานผลตัวชี้วัด PMQA 54 • การรายงานผลคะแนนของตัวชี้วัดที่ 12 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐมีแนวทางดังนี้ 43

  44. ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 วิธีการและขั้นตอนการดำเนินการ 44

  45. ปฏิทินการดำเนินการ 45

  46. การดำเนินการตามข้อเสนอปฏิบัติราชการตัวชี้วัดที่ 4.1 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA)

  47. เกณฑ์การให้คะแนน

  48. เรื่องกิจกรรมที่ 1

  49. เรื่องกิจกรรมที่ 2

  50. เรื่องกิจกรรมที่ 3

More Related