1 / 27

พัฒนาการทางการบริหาร

พัฒนาการทางการบริหาร. สถาบันสังคม สังคมของมนุษย์เป็นสังคมที่มีการรวมตัวเป็นกลุ่ม หมู่เหล่า เป็นชุมชนขนาดต่าง ๆ . วิลเลียม ซิฟฟิน ( William S. Siffin) " หากปราศจากองค์การบริหารแล้ว สังคมก็จะไม่มี หากปราศจากสังคมแล้ว มนุษย์ก็ไม่อาจจะดำรงชีวิตอยู่ได้.

santiago
Download Presentation

พัฒนาการทางการบริหาร

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. พัฒนาการทางการบริหาร สถาบันสังคมสังคมของมนุษย์เป็นสังคมที่มีการรวมตัวเป็นกลุ่ม หมู่เหล่า เป็นชุมชนขนาดต่าง ๆ

  2. วิลเลียม ซิฟฟิน (William S. Siffin) "หากปราศจากองค์การบริหารแล้ว สังคมก็จะไม่มี หากปราศจากสังคมแล้ว มนุษย์ก็ไม่อาจจะดำรงชีวิตอยู่ได้

  3. การบริหาร(Administration) และ การจัดการ(Management) การบริหาร มักจะใช้กับการบริหารกิจการสาธารณะหรือการบริหารราชการ การจัดการ ใช้กับการบริหารธุรกิจเอกชน

  4. การบริหาร - Peter F. Drucker : ศิลปะในการทำงานให้บรรลุเป้าหมายร่วมกับผู้อื่น- Harold koontz : การดำเนินงานให้บรรลุวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ โดยการอาศัยคน เงิน วัตถุสิ่งของ เป็นปัจจัยในการปฏิบัติงาน- Herbert A. simon : กิจกรรมที่บุคคลตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป ร่วมมือกันดำเนินการให้บรรลุวัตถุประสงค์อย่างใดอย่างหนึ่ง หรือหลายอย่างร่วมกัน

  5. การบริหาร หมายถึง การใช้ศาสตร์และศิลป์ของบุคคลตั้งแต่ 2 คน ขึ้นไป ร่วมมือกันดำเนินกิจกรรมหรืองานให้บรรลุวัตถุประสงค์ที่วางไว้ร่วมกัน โดยอาศัยกระบวนการ และทรัพยากรทางการบริหารเป็นปัจจัยอย่างประหยัด และให้เกิดประโยชน์สูงสุด

  6. ปัจจัยสำคัญการบริหารที่สำคัญมี 4 อย่าง ที่เรียกว่า 4Ms ได้แก่ 1. คน (Man) 2 เงิน (Money) 3. วัสดุสิ่งของ(Materials) 4. การจัดการ (Management)

  7. ทฤษฎี ความรู้ที่เกิดขึ้นจากการรวบรวมแนวคิด และหลักการต่าง ๆ ให้เป็นกลุ่มก้อน ยังไม่มีทฤษฎีใดที่สามารถช่วยอธิบายปรากฏการณ์ในการบริหารงานได้หมด อาจจำเป็นต้องใช้หลาย ๆ ทฤษฎีในการแก้ปัญหาหนึ่ง

  8. คู๊นท์ (Koontz) หลักในการบริหารงานนั้นจะดีหรือมีประสิทธิภาพหรือไม่นั้น ควรคำนึงถึงลักษณะของทฤษฎีในเรื่องต่อไปนี้1. การเพิ่มประสิทธิภาพของงาน2. การช่วยวิเคราะห์งานเพื่อปรับปรุงพัฒนา3. การช่วยงานด้านวิจัยขององค์การให้ก้าวหน้า4. ตรงกับความต้องการของสังคม5. ทันสมัยกับโลกที่กำลังพัฒนา -

  9. ทัศนะการบริหารเชิงวิทยาศาสตร์(1887-1945)ทัศนะการบริหารเชิงวิทยาศาสตร์(1887-1945) (The Scientific Management Point of View) • ทัศนะเชิงมนุษย์สัมพันธ์ (1945-1958) (The Human Relationship Point of View) • ทัศนะเชิงพฤติกรรมศาสตร์(1958-1970) (The Behavioral Science Point of View) • ทัศนะวิธีเชิงระบบ(1970-ปัจจุบัน) (The Systems Approach Point of View)

  10. 1. ทัศนะการบริหารเชิงวิทยาศาสตร์ • กลุ่มการจัดการเชิงวิทยาศาสตร์ของเทย์เลอร์Federic W. Taylor • 1.อยู่ที่รู้อย่างแน่นอนว่าเราต้องการให้คนทำอะไร • และดูแลว่าเขาได้ทำงานอย่างดีที่สุดและประหยัดค่าใช้จ่าย • ที่สุด • 2.ไม่นำแผนการบริหาร ซึ่งก่อให้เกิดความไม่พอใจทั้งฝ่ายนายจ้างและลูกจ้างมาใช้

  11. 3.คนงานต้องการค่าจ้างที่สูง และสิ่งที่นายจ้าง ต้องการจากคนงานมากที่สุดก็คือ ค่าใช้จ่ายในการผลิต ต่ำ

  12. กลุ่มการบริหารจัดการของ Fayol (Administration Management) (บิดาของทฤษฎีการปฏิบัติการ) 1. การวางแผนงาน(To Plan) การวิเคราะห์อนาคตและจัดวางแผนปฏิบัติงานล่วงหน้า 2. การจัดหน่วยงาน(To Organize) การเสริมสร้างองค์การด้านคนและวัสดุสิ่งของ เพื่อการปฏิบัติการตามแผน 3. การบังคับบัญชา(To Command) การควบคุมบังคับบัญชาให้คนงานปฏิบัติงานตามหน้าที่

  13. 4. การประสานงาน (To Coordinate) การประสานกิจกรรมต่าง ๆ ของหน่วยงานให้ดำเนินไปตามเป้าหมาย 5. การควบคุม (To Control) การควบคุมดูแลให้การปฏิบัติงานเป็นไปตามระเบียบข้อบังคับและกฎเกณฑ์

  14. หลักการบริหารของ Gulik หลักการบริหารควรประกอบด้วย(POSDCoRB) P-Planning หมายถึง การวางแผน O-Organizing หมายถึง การจัดองค์การ S-Staffing หมายถึง การจัดคนเข้าทำงาน D-Directing หมายถึง การสั่งการ Co-Coordinating หมายถึง ความร่วมมือ R-Reporting หมายถึง การรายงาน B-Budgeting หมายถึง งบประมาณ

  15. ทฤษฎีบริหารองค์การในระบบราชการ(Bureaucracy) ของ แมกซ์ เวเบอร์ (Max Weber) 1. หลักของฐานอำนาจจากกฎหมาย 2. การแบ่งหน้าที่และความรับผิดชอบ ที่ต้องยึด ระเบียบกฎเกณฑ์ 3. การแบ่งงานตามความชำนาญการเฉพาะทาง 4. การแบ่งงานไม่เกี่ยวกับผลประโยชน์ส่วนตัว 5. มีระบบความมั่นคงในอาชีพ

  16. 2.ทัศนะเชิงมนุษยสัมพันธ์2.ทัศนะเชิงมนุษยสัมพันธ์ • ฟอลเล็ตต์ (Follett) กล่าวว่าปัญหาของการบริหารขององค์การใด ๆ รวมถึงโรงเรียนจะต้องมองไปที่มนุษยสัมพันธ์

  17. การสร้างมนุษยสัมพันธ์ในองค์การการสร้างมนุษยสัมพันธ์ในองค์การ • แก้ไขความแตกต่าง โดยผ่านทางการประชุมและความร่วมมือมากกว่าจะใช้กฎระเบียบ • ความคิดของแต่ละกลุ่ม มาจากข้อเท็จจริงของสถานการณ์ • แต่ละกลุ่มจะต้องเข้าใจทัศนะซึ่งกันและกัน • กลุ่มคนใดในองค์การใดๆ จะมีเป้าหมายร่วนกันและดำเนินงานด้วยความสามัคคี เพื่อให้เป้าหมายนั้นประสบกับความสำเร็จ

  18. การประยุกต์ใช้หลักมนุษยสัมพันธ์ในการบริหารการศึกษาการประยุกต์ใช้หลักมนุษยสัมพันธ์ในการบริหารการศึกษา • ผู้บริหารควรสร้างมนุษยสัมพันธ์อันดีกับครูเป็นรายบุคคลและเป็นกลุ่ม • ปัญหาเรื่องมนุษยสัมพันธ์ ซึ่งในเบื้องต้นไม่ค่อยมีความสำคัญแต่ต่อมาได้รับการยอมรับมากขึ้น • ผู้บริหารสามารถสร้างภาวะผู้นำแบบประชาธิปไตยได้มากกว่าเพราะตำแหน่งเอื้ออำนวยให้

  19. 4. ครูทุกคนรวมเป็นกลุ่มสังคมที่ซับซ้อน ผู้บริหารจะต้องร่วมงานกับครูเหล่านี้ด้วยความระมัดระวัง 5. ครูและเจ้าหน้าที่ทุกคนที่ได้รับผลกระทบกระเทือนต่อการตัดสินใจควรจะมีส่วนร่วมในการตัดสินใจนั้นด้วย

  20. 3.ทัศนะเชิงพฤติกรรมศาสตร์3.ทัศนะเชิงพฤติกรรมศาสตร์ กล่าวถึงประสิทธิภาพกับการบริหาร การบริหารที่มีประสิทธิภาพต้องมีทางเลือกในการแก้ปัญหา(Alternative) หลาย ๆ ทางและควรเลือกทางในการแก้ปัญหาที่เสียค่าใช้จ่ายน้อยที่สุดแต่สามารถทำงานบรรลุผล

  21. Abraham Maslow (1908-1970) บุคคลได้รับการกระตุ้นโดยความต้องการและจะกระทำเพื่อให้ได้รับการตอบสนองความต้องการตามลำดับขั้น

  22. ทฤษฎีลำดับขั้นความต้องการ(Hierarchy of needs theory) แบ่งความต้องการของมนุษย์ออกเป็น 5 ขั้นตั้งแต่ความต้องการพื้นฐานต่ำสุดไปถึงสูงสุดคือ1. ทางกายภาพ(Physiological needs)2. ความปลอดภัย(Safety needs)3. ทางสังคม(Social needs)4. ยกย่องชื่อเสียง( Esteem needs)5. สมหวังและความสำเร็จของชีวิต (Self-actualization needs)

  23. ทฤษฎี X และทฤษฎี Y ของ Douglas Mc Gregor • - ทฤษฎี X(Theory X) มองว่าพนักงานเกียจคร้านไม่กระตือรือร้นไม่ชอบงานและพยายามหลีกเลี่ยงงาน • - ทฤษฎี Y(Theory Y) มองว่าพนักงานมีความรับผิดชอบมีความคิดริเริ่มในการแก้ปัญหาในการทำงานและไม่มีความเบื่อหน่ายในการทำงาน

  24. - แมคเกรเกอร์ได้เรียกร้องให้ผู้บริหารเปลี่ยนแปลงมุมมองมนุษย์จากมุมมองตามทฤษฎี X ไปเป็นมุมมองตามทฤษฎี Y

  25. ทฤษฎี Z ของอูชิ (Ouchi ) • รวมเอาหลักการของทฤษฎี X , Y เข้าด้วยกัน • องค์การต้องมีหลักเกณฑ์ที่ควบคุมมนุษย์ • มนุษย์รักความเป็นอิสระ มีความต้องการ • ดังนั้น ผู้บริหารจึงต้องปรับเป้าหมายขององค์การให้สอดคล้องกับเป้าหมายของบุคคลในองค์การ

  26. 4.ทัศนะวิธีการเชิงระบบ4.ทัศนะวิธีการเชิงระบบ ระบบในเชิงบริหาร หมายถึงองค์ประกอบหรือปัจจัย ต่างๆ ที่มีความสัมพันธ์กันและมีส่วนกระทบต่อปัจจัยระหว่างกัน ในการดำเนินงานเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ขององค์กร

  27. ระบบองค์การจะดำเนินอยู่บนพื้นฐานของส่วนประกอบห้าส่วนคือระบบองค์การจะดำเนินอยู่บนพื้นฐานของส่วนประกอบห้าส่วนคือ 1. ปัจจัยนำเข้า (Input) 2. กระบวนการเปลี่ยนแปลง (Transformation process) 3. ปัจจัยส่งออก (Outputs) 4. สิ่งป้อนกลับ (Feedback) 5. สภาพแวดล้อม (External environment)

More Related