1 / 29

การปฏิรูปการศึกษา ในทศวรรษที่สอง ( 2552-2561)

การปฏิรูปการศึกษา ในทศวรรษที่สอง ( 2552-2561). โดย รองศาสตราจารย์ธงทอง จันทรางศุ เลขาธิการสภาการศึกษา. วิกฤตของประเทศและความพยายามในการปฏิรูปการศึกษา ก่อนปี 2542. วิกฤตเศรษฐกิจปี 2540 และกระแสเรียกร้องการ สร้างคนที่มี “ความรู้” คู่ “คุณธรรม”

Download Presentation

การปฏิรูปการศึกษา ในทศวรรษที่สอง ( 2552-2561)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง (2552-2561) โดย รองศาสตราจารย์ธงทอง จันทรางศุ เลขาธิการสภาการศึกษา

  2. วิกฤตของประเทศและความพยายามในการปฏิรูปการศึกษา ก่อนปี 2542 • วิกฤตเศรษฐกิจปี 2540 และกระแสเรียกร้องการ สร้างคนที่มี “ความรู้” คู่ “คุณธรรม” • ประเทศไทยเคยมีความพยายามที่จะปฏิรูป การศึกษาหลายครั้ง แต่ความสำเร็จมีน้อย

  3. จุดเริ่มต้นของการปฏิรูปการศึกษาไทยในยุค 40’s • กระแสการปฏิรูปการศึกษาของนานาชาติ • ความเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีและผลกระทบต่อ การศึกษา • รายงานการศึกษานานาชาติและการศึกษาไทยในเวทีโลก ( เช่น TIMSS, โอลิมปิกวิชาการ) • การศึกษาไทยมีปัญหาคุณภาพตั้งแต่ระดับอนุบาล ถึง ปริญญาเอก

  4. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 • มิติใหม่ของการศึกษาไทย : การศึกษาเป็นสิทธิของ ผู้เรียน • มีสาระบัญญัติในรัฐธรรมนูญว่าด้วยเรื่องการศึกษาของชาติ • นำไปสู่การจัดทำ “พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ” และ “การปฏิรูปการศึกษา”

  5. การปฏิรูปการศึกษา มีทั้งสำเร็จและล้มเหลว

  6. ความสำเร็จมาก • การขยายโอกาสทางการศึกษา12 ปี และ 15 ปี • การจัดการศึกษาสำหรับผู้ด้อยโอกาส ผู้พิการ • การศึกษาทางเลือก การจัดการศึกษาโดยครอบครัว โดย สถานประกอบการ โดยสถาบันศาสนา ฯลฯ • การเพิ่มงบประมาณเพื่อการศึกษา • การมีระบบการประกันคุณภาพการศึกษา

  7. ความสำเร็จปานกลาง • การปฏิรูปการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็น สำคัญ • การใช้แหล่งการเรียนรู้ ครูภูมิปัญญาไทย

  8. ความล้มเหลว • การผลิตและพัฒนาครู ผู้บริหาร • วิทยฐานะครูและผู้บริหาร กับ ผลการเรียน ของผู้เรียนไม่สัมพันธ์กัน • สื่อและเทคโนโลยี

  9. เรื่องที่ล้มเหลว แตกแยก และเสียเวลา • การปฏิรูปโครงสร้าง

  10. ตัวชี้วัดบางรายการ • ผู้เรียนขาดโอกาสรับการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยเฉลี่ยได้เพียง 8.7 ปี • ผลการประเมินภายนอกปัจจุบัน (ปี 2548-2551) ของ สมศ.พบว่า

  11. ระดับปฐมวัย (จำนวน 20,184 แห่ง) มีร้อยละ 80.4 ได้มาตรฐาน และร้อยละ 19.6 ต้องได้รับการ พัฒนา • ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน (จำนวน 22,425 แห่ง) มีร้อยละ 79.7 ได้มาตรฐาน และร้อยละ 20.3 ต้อง ได้รับการพัฒนา

  12. ระดับอาชีวศึกษา (จำนวน 549 แห่ง) มีร้อยละ 89.6 ได้มาตรฐาน และร้อยละ 10.4 ต้องได้รับ การพัฒนา • ระดับอุดมศึกษา (จำนวน 154 แห่ง) มีร้อยละ 94.8 ได้มาตรฐาน และร้อยละ 5.2 ต้องได้รับการ พัฒนา

  13. ตัวชี้วัดบางรายการ(ต่อ)ตัวชี้วัดบางรายการ(ต่อ) • สัมฤทธิผลในวิชาหลัก (สังคมศาสตร์ ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์) เฉลี่ยต่ำกว่าร้อยละ 50

  14. ผลการจัดสอบ O-NET ม.6 ปีการศึกษา 2549-2550

  15. อุปสรรคของการปฏิรูปที่ผ่านมา • การเมืองที่เปลี่ยนแปลงบ่อย • ไม่ได้ให้ความรู้กับฝ่ายการเมือง • ทำปฏิรูปหลายเรื่องเกินไป จึงมีพลังไม่พอ • ขาดเจ้าภาพและผู้นำที่เข้มแข็ง • ไม่มีคนทำ มีแต่คนพูด

  16. นโยบายของรัฐบาลปัจจุบันนโยบายของรัฐบาลปัจจุบัน • ปฏิรูปการศึกษาทั้งระบบ • ส่งเสริมบทบาทภาคเอกชน • พัฒนาครูอาจารย์ บุคลากรทางการ ศึกษา • ให้โอกาสศึกษาฟรี 15 ปี

  17. นโยบายของรัฐบาลปัจจุบัน (ต่อ) • ยกระดับมาตรฐานอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา • ปรับปรุงระบบการกู้ยืมเพื่อการศึกษา • ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อ การศึกษา • เร่งรัดการลงทุนด้านการศึกษาและเรียนรู้อย่าง มีบูรณาการ

  18. แนวความคิดหลักจากนายกรัฐมนตรี จากการประชุมระดมสมองของ สมศ. 14 พ.ค. 2552 • หลักการที่สำคัญในการปฏิรูปฯ • การสร้างโอกาสและการเข้าถึงการศึกษา • การมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนของสังคม • การสร้างคุณภาพและเนื้อหาในการศึกษา

  19. ประเด็นที่ได้มาจากภาพรวมการระดมความคิดทั่วประเทศประเด็นที่ได้มาจากภาพรวมการระดมความคิดทั่วประเทศ • ไม่ควรปฏิรูปแบบ “ดาวกระจาย” แต่ควรเน้นประเด็นหลักเช่น • การจัดระบบการบริหารจัดการ • การจัดระบบการเงิน • การเน้นคุณธรรมและความซื่อสัตย์ • การสร้างจิตสาธารณะ • การจัดการความรู้ขององค์กร

  20. ประเด็นที่ได้มาจากภาพรวมการระดมความคิดทั่วประเทศประเด็นที่ได้มาจากภาพรวมการระดมความคิดทั่วประเทศ • สร้างพลังในการปฏิรูปจากภายนอกระบบ การศึกษาด้วย ไม่เพียงจากภายในเท่านั้น

  21. ปฏิรูปการศึกษาเพื่ออะไร?ปฏิรูปการศึกษาเพื่ออะไร? • เพื่อได้การศึกษาที่มีคุณภาพ • เพื่อให้ผู้เรียนเป็นจุดศูนย์กลางในการเรียนรู้ ตลอดชีวิต • เพื่อสามารถพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมด้วยการ เรียนรู้

  22. ปฏิรูปการศึกษาเพื่ออะไร?ปฏิรูปการศึกษาเพื่ออะไร? • วิสัยทัศน์:“คนไทยได้เรียนรู้ ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ”

  23. สรุป จุดเน้นของการปฏิรูป 3 เรื่อง • คุณภาพ • โอกาสทางการศึกษา เปิดโอกาสให้ คนไทยเข้าถึงการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ • การมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนของ สังคม

  24. คุณภาพ • คุณภาพครู • คุณภาพแหล่งเรียนรู้/สถานศึกษา • คุณภาพการบริหารจัดการ

  25. โอกาสทางการศึกษา เปิดโอกาสให้ คนไทยเข้าถึงการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ

  26. การมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนของ สังคม (ครอบครัว ศาสนา องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น สถาบันอื่นๆ ที่ เกี่ยวข้อง)

  27. กลไกขับเคลื่อนการปฏิรูป กลไกขับเคลื่อนการปฏิรูป • ตั้งคณะกรรมการนโยบายการปฏิรูป การศึกษา โดยมีนายกรัฐมนตรีเป็น ประธาน • ตั้งคณะกรรมการขับเคลื่อนการปฏิรูป การศึกษา โดยมี รมว.ศธ.เป็นประธาน

  28. มีกลไกขับเคลื่อนการปฏิรูป (ต่อ) • จัดตั้งกลไกอื่นๆ ตามความจำเป็น เช่น สถาบันเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาETV สถาบันคุรุศึกษาสถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ เป็นต้น

  29. ขอบพระคุณ

More Related