1 / 119

สานฝันความร่วมมือเพื่อสร้างเครือข่ายคน QA

สานฝันความร่วมมือเพื่อสร้างเครือข่ายคน QA . โดย ผศ.ปรานี พรรณวิเชียร รองอธิการบดี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. การประกันคุณภาพการศึกษา.

reynold
Download Presentation

สานฝันความร่วมมือเพื่อสร้างเครือข่ายคน QA

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. สานฝันความร่วมมือเพื่อสร้างเครือข่ายคน QA โดย ผศ.ปรานี พรรณวิเชียร รองอธิการบดี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี

  2. การประกันคุณภาพการศึกษาการประกันคุณภาพการศึกษา หมายถึง การมีระบบและกลไกในการควบคุม ตรวจสอบประเมิน การดำเนินงานในแต่ละองค์ประกอบคุณภาพตามดัชนีบ่งชี้ที่กำหนด เพื่อเป็นหลักประกันแก่ ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง และสาธารณชน ได้มั่นใจว่าสถาบันนั้นๆ สามารถให้ผลผลิตทางการศึกษาที่มีคุณภาพ

  3. คุณภาพ • มีมาตรฐานตามที่กำหนด • ตรงตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ • มีประสิทธิภาพ • ตอบสนองความคาดหวัง • มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง

  4. ความจำเป็นของการประกันคุณภาพความจำเป็นของการประกันคุณภาพ • การตื่นตัวเรื่องการประกันคุณภาพทั่วโลก • การสื่อสารไร้พรมแดน • การเปิดเสรีด้านการค้าและบริการ • สิทธิเสรีภาพการรับรู้ข้อมูลข่าวสาร • ข้อจำกัดด้านงบประมาณ

  5. การประกันคุณภาพตาม พ.ร.บ. การศึกษาแห่งชาติ เจตนารมณ์ของ หมวด 6 จุดเริ่มต้นจาก พ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติ หมวดที่ 6 1. การประกันคุณภาพเป็นเครื่องมือของการบริหารและการกระจายอำนาจ 2. มาตรฐานการศึกษาต้องสอดคล้องกับเจตนารม ของ พ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติ 3. การกำหนดมาตรฐานและหลักเกณฑ์ของระบบประกันคุณภาพ เป็นหน้าที่ของหน่วยงานระดับสูง

  6. การประกันคุณภาพตาม พ.ร.บ. การศึกษาแห่งชาติ เจตนารมณ์ของ หมวด 6 4. การประกันคุณภาพภายใน เป็นหน้าที่ของสถานศึกษา 5. การประกันคุณภาพภายนอก เป็นหน้าที่องค์กรอิสระ 6. การนำผลประเมินไปใช้ปรับปรุงการบริหารถือเป็น หน้าที่ผู้บริหารสถานศึกษา

  7. การพัฒนาคุณภาพ (QC) กระบวนการ พัฒนาสู่คุณภาพ กระบวนการ ปรับปรุงคุณภาพ การประกันคุณภาพ (QA) การประเมินคุณภาพ - ภายใน (IQA) - ภายนอก (EQA) การตรวจติดตามคุณภาพ (QAu)

  8. ระบบการประกันคุณภาพ • การพัฒนาคุณภาพ (Quality Control) • กำหนดมาตรฐาน • วิธีการพัฒนา • จัดทรัพยากรสนับสนุน การตรวจติดตามคุณภาพ (Quality Auditing) การประเมินคุณภาพ (Quality Assessment) • ภายใน • ภายนอก

  9. มาตรา 47 ให้มีระบบการประกันคุณภาพ เพื่อพัฒนามาตรฐานการศึกษา การประกัน คุณภาพภายใน การประกัน คุณภาพภายนอก

  10. ร่วมกันวางแผน Plan การควบคุมคุณภาพ Act Do ร่วมกันปรับปรุง ร่วมกันปฏิบัติ Check การตรวจสอบและ ประเมินคุณภาพ ร่วมกันตรวจสอบ และประเมิน

  11. มาตรา 48 หน่วยงานที่กำกับดูแล & สถานศึกษา ประกันคุณภาพภายในให้เป็นส่วนหนึ่งของ การบริหารที่ต้องทำอย่างต่อเนื่อง เพื่อพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา

  12. การประกันคุณภาพภายใน เป็นการสร้างระบบและกลไกลในการควบคุมและตรวจสอบประเมินการดำเนินงานของสถานศึกษาให้เป็นไปตามนโยบาย เป้าหมาย และระดับคุณภาพมาตรฐานที่กำหนดโดยสถานศึกษา

  13. มาตรา 48 สถานศึกษาทุกแห่ง มีระบบและกลไกการประกันคุณภาพภายใน จัดทำรายงานประเมินตนเองเป็นรายงานประจำปีเสนอต้นสังกัด หน่วยเกี่ยวข้อง และสาธารณชนทุกปี นำไปสู่การพัฒนาคุณภาพและพร้อมรับการประเมินภายนอก

  14. มาตรา 49 การประเมินคุณภาพภายนอก สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์กรมหาชน) สมศ. รับผิดชอบ ให้สถานศึกษารับการประเมินภายนอก อย่างน้อย 1 ครั้งทุก 5 ปี

  15. มาตรา 50 สถานศึกษาทุกแห่งให้ความร่วมมือ สมศ. เตรียมรายงานการประเมินตนเอง หลักฐานและให้ข้อมูลจากการปฏิบัติงาน

  16. มาตรา 51 สถานศึกษาปรับปรุงแก้ไขตามข้อเสนอแนะของ สมศ.

  17. เงื่อนไขความสำเร็จ ของการประกันคุณภาพ • ผู้บริหารมุ่งมั่น สมาชิกทุกคนร่วมมือ • ผู้บริหารมีความเข้าใจในแนวปฏิบัติ • มีระบบและกลไกการประกันที่เหมาะสม • มีฐานข้อมูลและระบบการใช้ข้อมูลที่มีประสิทธิภาพ

  18. การสนับสนุนจากผู้บริหารระดับสูงการสนับสนุนจากผู้บริหารระดับสูง • กำหนดนโยบายการประกันคุณภาพ • จัดตั้งคณะกรรมการและจัดระบบบริหารการประกันคุณภาพ • จัดหน่วยงานรองรับเป็นฐานปฏิบัติงานประกันคุณภาพ • สนับสนุนทรัพยากรที่จำเป็น

  19. การสนับสนุนจากบุคลากรการสนับสนุนจากบุคลากร • บุคลากรทุกคนต้องทำความเข้าใจ • ให้ความร่วมมือ • สร้างวัฒนธรรม • เผยแพร่ประชาสัมพันธ์

  20. นักศึกษา/ผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย • ทำความเข้าใจ • ให้ความร่วมมือ • สนับสนุนส่งเสริม • ดำเนินการอย่างต่อเนื่องยั่งยืน • เผยแพร่ประชาสัมพันธ์

  21. ระบบและกลไกการประกันคุณภาพระบบและกลไกการประกันคุณภาพ • กำหนดปัจจัยหลักและปัจจัยย่อยที่ด้รับการดูแล เพื่อให้ผลผลิตมีคุณภาพ องค์ประกอบคุณภาพ • กำหนดตัวชี้วัดเพื่อประเมินปัจจัยดังกล่าวซึ่งอาจเป็นการเมิน INPUT – PRRCESS – OUTPUT – OUTCOME (โดยกำหนดตัวบ่งชี้) • มีข้อกำหนดและตัวบ่งชี้เพื่อใช้ตัดสินคุณภาพ(เกณฑ์) • มีขั้นตอน วิธีการและผู้รับผิดชอบ ดำเนินงานตามแผนตรวจประเมินตามตัวบ่งชี้เพื่อนำไปสู่การพัฒนา

  22. ภารกิจอุดมศึกษา • การจัดการเรียนการสอน • งานวิจัย • บริหารทางวิชาการแก่สังคม • อนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรม

  23. ตรงเวลา ความรู้ สติปัญญาดี คิดอย่างเป็นระบบ คุณธรรม ใฝ่รู้ บุคลิกภาพดี เป็นผู้นำ ศักยภาพในการ สร้างงานสู่สากล มีวินัย รับผิดชอบต่อตนเอง เอื้ออาทรสังคม ภูมิปัญญาท้องถิ่น สุขภาพดี

  24. เก่ง ดี มีสุข

  25. แผนภูมิแสดงองค์ประกอบหลักในการดำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษาแผนภูมิแสดงองค์ประกอบหลักในการดำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษา ปรัชญา/ปณิธาน/วัตถุประสงค์/ แผนการดำเนินงานของสถาบัน กระบวนการดำเนินงานตามภารกิจหลัก 1. การจัดการเรียนการสอน 2. การวิจัย 3. การให้บริการทางวิชาการแก่สังคม 4. การทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม ผลลัพธ์ กระบวนการบริหาร 1. การบริหารและการจัดการ 2. การเงินและงบประมาณ 3. ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ

  26. มาตรฐานการอุดมศึกษา มาตรฐานการอุดมศึกษามี 3 ด้าน 12 ตัวบ่งชี้ 1. มาตรฐานด้านคุณภาพบัณฑิต บัณฑิตระดับอุดมศึกษาเป็นผู้มีความรู้ มีคุณธรรมจริยธรรม มีความสามารถในการเรียนรู้และพัฒนาตนเอง สามารถประยุกต์ใช้ความรู้เพื่อการดำรงชีวิตในสังคม มีความสำนึกและรับผิดชอบในฐานะพลเมืองและพลโลก

  27. ตัวบ่งชี้ 1.1 บัณฑิตมีความรู้ ความเชี่ยวชาญในศาสตร์ของตน สามารถเรียนรู้ สร้างและประยุกต์ใช้ความรู้เพื่อพัฒนาตนเอง สามารถปฏิบัติงานและสร้างงานเพื่อแข่งขันได้ในระดับสากล 1.2 บัณฑิตมีจิตสำนึก ดำรงชีวิต และปฏิบัติหน้าที่ตามความรับผิดชอบโดยยึดหลักคุณธรรมจริยธรรม 1.3 บัณฑิตมีสุขภาพดีทั้งร่างกายและจิตใจ

  28. มาตรฐานการอุดมศึกษา 2. มาตรฐานด้านการบริหารจัดการการอุดมศึกษา มีการบริหารจัดการการอุดมศึกษาตามหลักธรรมาภิบาล และพันธกิจของการอุดมศึกษาอย่างมีดุลยภาพ 2.1 มาตรฐานด้านธรรมาภิบาลของการบริหาร การอุดมศึกษา มีการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล โดยคำนึงถึงความหลากหลายและเป็นอิสระทางวิชาการ

  29. ตัวบ่งชี้ • มีการจัดการบุคลากรที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล • มีการบริหารจัดการทรัพยากรและเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล คล่องตัว โปร่งใส • มีระบบการประกันคุณภาพเพื่อนำไปสู่การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการอุดมศึกษาอย่างต่อเนื่อง

  30. 2.2 มาตรฐานด้านพันธกิจของการบริหารการอุดมศึกษา การดำเนินงานตามพันธกิจของการอุดมศึกษา ทั้ง 4 ด้านอย่างมีดุลยภาพ โดยมีการประสานความร่วมมือจากทุกภาคส่วนในการจัดการความรู้

  31. ตัวบ่งชี้ • มีหลักสูตรและการเรียนการสอนที่ทันสมัย ยืดหยุ่น สอดคล้องกับความต้องการของสถาบันและสังคม • มีการวิจัยเพื่อสร้างและประยุกต์ใช้องค์ความรู้ใหม่ • มีการให้บริการวิชาการที่ทันสมัย เหมาะสม สอดคล้องกับความต้องการของสถาบัน • มีการอนุรักษ์ ฟื้นฟู สืบสาน พัฒนา เผยแพร่ วัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น

  32. 3. มาตรฐานด้านการสร้างและพัฒนาสังคมฐานความรู้และสังคมแห่งการเรียนรู้ การแสวงหา การสร้าง และการจัดการความรู้ตามแนวทาง/หลักการ อันนำไปสู่สังคมฐานความรู้ และสังคมแห่งการเรียนรู้

  33. ตัวบ่งชี้ 3.1 มีการแสวงหา การส้ราง และการใช้ประโยชน์ความรู้ 3.2 มีการบริหารจัดการความรู้อย่างเป็นระบบ โดยใช้หลักการวิจัยแบบบูรณาการ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การสร้างเครือข่าย และการประสานความร่วมมือ อันนำไปสู่สังคมแห่งการเรียนรู้

  34. บทบาทของนิสิตนักศึกษากับการประกันคุณภาพการศึกษาบทบาทของนิสิตนักศึกษากับการประกันคุณภาพการศึกษา 1. ความจำเป็นของการพัฒนาบทบาทนิสิตนักศึกษาในการประกันคุณภาพการศึกษา นิสิตนักศึกษาในฐานะผู้รับบริการและเป็นผลผลิตสำคัญของสถาบันอุดมศึกษา และเป็นผู้มีส่วนได้ส่วนเสียโดยตรงของสถาบันอุดมศึกษา มาตรฐานการประกันคุณภาพการศึกษา จึงกำหนดให้มีตัวบ่งชี้ที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานการประกันคุณภาพการศึกษาของนักศึกษาไว้ในตัวบ่งชี้ที่ 9.2

  35. ตัวบ่งชี้ที่ 3.2:ระบบและกลไกการส่งเสริมกิจกรรมนักศึกษา คำอธิบายตัวบ่งชี้ :สถาบันอุดมศึกษาต้องส่งเสริมให้มีการจัดกิจกรรมนักศึกษาต่าง ๆ อย่างเหมาะสมและครบถ้วน กิจกรรมนักศึกษาหมายถึงกิจกรรมเสริมหลักสูตรที่ดำเนินการทั้งโดยสถาบันและโดยองค์กรนักศึกษา เป็นกิจกรรมที่ผู้เข้าร่วมจะมีโอกาสได้รับการพัฒนาสติปัญญา สังคม อารมณ์ ร่างกาย และคุณธรรมจริยธรรมสอดคล้องกับคุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงค์ 5 ประการ ได้แก่ (1) คุณธรรม จริยธรรม (2) ความรู้ (3) ทักษะทางปัญญา (4) ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ (5) ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และสอดคล้องกับคุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงค์ที่สภา/องค์กรวิชาชีพได้กำหนดเพิ่มเติม ตลอดจนสอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้บัณฑิต

  36. แนวปฏิบัติที่ดี : 1. สถาบันจัดทำแผนการจัดกิจกรรมพัฒนานักศึกษาที่ส่งเสริมผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติทุกด้าน 2. มีกิจกรรมให้ความรู้และทักษะการประกันคุณภาพการศึกษาแก่นักศึกษา 3. มีการส่งเสริมให้นักศึกษานำความรู้ด้านการประกันคุณภาพไปใช้ในการจัดกิจกรรมที่ดำเนินการโดยนักศึกษาอย่างน้อย 5 ประเภท สำหรับระดับปริญญาตรี และอย่างน้อย 2 ประเภทสำหรับระดับบัณฑิตศึกษา 4. มีการสนับสนุนให้นักศึกษาสร้างเครือข่ายพัฒนาคุณภาพภายในสถาบันและระหว่างสถาบันและมีกิจกรรมร่วมกัน

  37. เกณฑ์มาตรฐาน : 1. มีระบบการให้ความรู้และทักษะการประกันคุณภาพการศึกษาแก่นักศึกษา 2. มีระบบส่งเสริมให้นักศึกษานำความรู้ด้านการประกันคุณภาพไปใช้กับกิจกรรมนักศึกษา 3. มีกลไกให้นักศึกษามีส่วนร่วมในการประกันคุณภาพการศึกษาของสถาบัน 4. นักศึกษามีการใช้กระบวนการคุณภาพ ในการพัฒนาคุณภาพของกิจกรรมหรือโครงการนักศึกษา

  38. 5. มีการประเมินความสำเร็จตามวัตถุประสงค์ของแผนการจัดกิจกรรมพัฒนานักศึกษา 6. มีการนำผลการประเมินไปปรับปรุงแผนหรือปรับปรุงจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนานักศึกษา

  39. 2. บทบาทนิสิตนักศึกษากับการประกันคุณภาพของสถาบันอุดมศึกษา บทบาทนิสิตนักศึกษาในการส่งเสริมและสนับสนุนการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาของสถาบันอุดมศึกษา มีดังต่อไปนี้ 1.1 บทบาทในการให้ความร่วมมือให้ข้อมูลเพื่อนำไปใช้ในการ ดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา ด้วยการให้ข้อมูล ที่ตรงไปตรงมา ให้ข้อเท็จจริงมากที่สุด 1.2 บทบาทในการรับรู้ ติดตามและให้ข้อเสนอแนะหรือให้ข้อมูล ย้อนกลับเกี่ยวกับระบบการประกันคุณภาพของสถาบัน

  40. 1.3 บทบาทในการศึกษา ติดตาม กำกับว่าข้อมูลที่ให้ไปมีการนำไปรับ ปรุงหรือใช้ประโยชน์จากการประเมินหรือไม่อย่างไร 1.4 บทบาทในการสนับสนุนให้ระบบการประกันคุณภาพการศึกษา ของสถาบันดำเนินไปได้ โดยนิสิตนักศึกษาสามารถแสดงบทบาท ในการส่งเสริมสถาบันได้หลายรูปแบบ 1.5 บทบาทในการนำความรู้และทักษะด้านการประกันคุณภาพไปใช้ ประโยชน์ในการพัฒนาตนเองพัฒนางานกิจกรรมนิสิตนักศึกษา เข้าสู่เกณฑ์มาตรฐานกิจการนักศึกษา

  41. 3. ภารกิจของนิสิตนักศึกษากับการมีส่วนร่วมในการประกันคุณภาพการศึกษา 3.1 ภารกิจด้านการเรียนการสอน นิสิตนักศึกษาสามารถเข้ามามีส่วนร่วมในการเรียนการสอน การพัฒนาขบวนการเรียนรู้ด้วยตนเอง โดยการริเริ่มวางแผนการเรียนรู้ของตนเอง กำกับการดำเนินการตามแผน ประเมินผลการเรียนรู้ของตนเองและร่วมทำงานกับอาจารย์ บุคลากรสายสนับสนุน

  42. ตัวบ่งชี้ที่เกี่ยวข้องกับการเรียนการสอนและการจัดกิจกรรมของนักศึกษามีจำนวน 9 ตัวบ่งชี้ โดยนิสิตนักศึกษาจะมีบทบาทในการดำเนินการในแต่ละตัวบ่งชี้ ดังนี้

  43. ตัวบ่งชี้ 2.6ระบบและกลไกการจัดการเรียนการสอน คำอธิบายตัวบ่งชี้ : กระบวนการจัดการเรียนการสอนต้องเป็นไปตามแนวทางที่กำหนดในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ มีการจัดรูปแบบการจัดการเรียนการสอนที่เหมาะสมและยืดหยุ่น โดยการมีส่วนร่วมจากบุคคล สถาบัน หรือชุมชนภายนอก มีการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่คำนึงถึงความแตกต่างเฉพาะตัวของนักศึกษา ซึ่งเป็นเรื่องที่สำคัญมากต่อความสนใจใฝ่รู้และต่อศักยภาพในการแสวงหาความรู้ของนักศึกษา เช่น การเปิดโอกาสให้นักศึกษาได้ค้นคว้าวิจัยโดยอิสระในรูปโครงการวิจัยส่วนบุคคล การจัดให้มี

  44. ตัวบ่งชี้ 2.6ระบบและกลไกการจัดการเรียนการสอน (ต่อ) ชั่วโมงเรียนในภาคปฏิบัติ ในห้องปฏิบัติการ รวมทั้งมีการฝึกประสบการณ์ภาคสนามอย่างพอเพียง มีการจัดสัมมนา จัดประชุมเชิงปฏิบัติการ จัดทำโครงการ มีการเรียนการสอนทางเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Internet) และมีห้องสมุดและระบบสืบค้นข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ที่เพียงพอสำหรับการศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมได้ด้วยตนเอง

  45. เกณฑ์มาตรฐาน: 1. มีระบบและกลไกการประกันคุณภาพการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ 2. ทุกรายวิชาของทุกหลักสูตร มีรายละเอียดของรายวิชาและของประสบการณ์ภาคสนาม (ถ้ามี) ก่อนการเปิดสอนในแต่ละภาคการศึกษา ตามที่กำหนดในกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ 3. ทุกหลักสูตรมีรายวิชาที่ส่งเสริมทักษะการเรียนรู้ด้วยตนเอง และการให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากการปฏิบัติทั้งในและนอกห้องเรียนหรือจากการทำวิจัย

  46. เกณฑ์มาตรฐาน: 4. มีการให้ผู้มีประสบการณ์ทางวิชาการหรือวิชาชีพจากหน่วยงานหรือชุมชนภายนอกเข้ามามีส่วนร่วมในกระบวนการเรียนการสอนทุกหลักสูตร • มีการจัดการเรียนรู้ที่พัฒนาจากการวิจัย หรือจากระบวนการจัดการความรู้เพื่อพัฒนาการเรียนการสอน 6. มีการประเมินความพึงพอใจของผู้เรียนที่มีต่อคุณภาพการจัดการเรียนการสอนและสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ทุกรายวิชา ทุกภาคการศึกษา โดยผลการประเมินความถึงพอใจแต่ละรายวิชาต้องไม่ต่ำกว่า 3.51 จากคะแนนเต็ม 5

  47. เกณฑ์มาตรฐาน: 7. มีการพัฒนาหรือปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน กลยุทธ์การสอน หรือการประเมินผลการเรียนรู้ ทุกรายวิชา ตามผลการประเมินรายวิชา

  48. เกณฑ์การประเมิน:

  49. ตัวอย่างการแสดงบทบาทของนิสิตนักศึกษาตัวอย่างการแสดงบทบาทของนิสิตนักศึกษา 1. ให้ข้อมูลแก่สถาบันเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตร 2. ให้ข้อมูลเกี่ยวกับคุณภาพการสอนของคณาจารย์ 3. มีส่วนร่วมในการความเห็นเกี่ยวกับข้อมูลผลการดำเนินการหลักสูตรที่สถาบันเผยแพร่ต่อสาธารณะ 4. ติดตามการปรับปรุงหลักสูตรของสถาบัน

  50. ตัวบ่งชี้ 2.8ระดับความสำเร็จของการเสริมสร้าง คุณธรรมจริยธรรมที่จัดให้กับนักศึกษา คำอธิบายตัวบ่งชี้ : คุณธรรมจริยธรรมของนักศึกษาเป็นคุณลักษณะที่พึงประสงค์และเป็นปัจจัยสำคัญของคุณภาพบัณฑิตตามเจตนารมณ์ของพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติและกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ รวมทั้งความคาดหวังของผู้ใช้บัณฑิตและสังคม ดังนั้น สถาบันจึงควรมีการวัดระดับความสำเร็จของการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมที่สถาบันจัดให้กับนักศึกษา

More Related