1 / 97

คุณภาพสังคมในประเทศไทย Social Quality in Thailand

คุณภาพสังคมในประเทศไทย Social Quality in Thailand. Thawilwadee Bureekul King Prajadhipok’s Institute, Thailand. Thailand Social Quality Network. King Prajadhipok’s Institute National Institute of Development Administration Chulalongkorn University. แนวคิด Conceptual Framework.

reina
Download Presentation

คุณภาพสังคมในประเทศไทย Social Quality in Thailand

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. คุณภาพสังคมในประเทศไทยSocial Quality in Thailand ThawilwadeeBureekul King Prajadhipok’s Institute, Thailand

  2. Thailand Social Quality Network • King Prajadhipok’s Institute • National Institute of Development Administration • Chulalongkorn University

  3. แนวคิดConceptual Framework • The European Foundation on Social Quality (Beck, Van der Maeson, and et.al. 2001) • The Asian Social Quality Network

  4. คุณภาพสังคม • เรื่องที่ประชาชนสามารถเข้ามามีส่วนร่วมในชีวิตทางด้านสังคมและเศรษฐกิจ รวมทั้งการพัฒนาชุมชนภายใต้การเสริมสร้างความเป็นอยู่ที่ดีและการมีศักยภาพของตนเอง

  5. เป็นเรื่องของ “พลเมือง “ หรือ citizens) มากกว่าเรื่อง ปัจเจก หรือ individuals • เป็นแนวคิดแบบบูรณาการของเรื่องต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับคุณภาพของชีวิตมนุษย์ • เป็นเรื่องของการตระหนักตน • การมีส่วนร่วมในการสร้างอัตลักษณ์ที่มีผลต่อชีวิตประจำวัน และเป็นไปตามศักยภาพของแต่ละคน

  6. คุณภาพสังคม • เป็นเครื่องมือทางปัญญาที่อธิบายประเด็นทางสังคม • เป็นแนวทางในการกำหนดนโยบายเพื่อแก้ปัญหาต่างๆที่เกิดขึ้นในสังคมนั้นๆ • เป็นเรื่องที่ต้องมีการสำรวจบริบททางเศรษฐกิจ การเมือง สังคม และวัฒนธรรม

  7. คุณภาพสังคม • เป็นเรื่องของความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์ และการปฏิบัติต่อกัน • รวมการปฏิบัติในฐานะของการเป็นพลเมืองที่เข้าไปเกี่ยวข้องกับเรื่องสถาบันการเมืองและองค์การต่างๆทางสังคม ตลอดจนพื้นที่ทางสังคม มีความสำคัญและมีอิทธิพลต่อชีวิตประจำวันของประชาชน

  8. การพัฒนาการกระจายความเป็นธรรม (redistributive justice) • คงไว้ซึ่งความรู้สึกของการเป็นสังคม (sense of society) ที่ต้องเรียกร้องให้เกิดนโยบายที่เป็นกฎของสังคม • เป็นเรื่องของความสัมพันธ์ การเสวนา การปฏิบัติต่อกันของเพื่อนมนุษย์ เป็นเครื่องมือทางการเมืองที่ทำให้เกิดการปรับเปลี่ยนความสนใจของปัจเจกเป็นความสนใจส่วนรวม เป็นเรื่องสาธารณะ

  9. คุณภาพสังคมจึงเป็นการมองสังคมใหม่และใช้ปัญญาไตร่ตรองมากขึ้นคุณภาพสังคมจึงเป็นการมองสังคมใหม่และใช้ปัญญาไตร่ตรองมากขึ้น

  10. การนำเสนอ • ศึกษาระดับคุณภาพสังคมโดยทั่วไปของไทย โดยใช้ตัวชี้วัดของACSQ ในมิติต่างๆ • ทำอย่างไรจึงจะมีคุณภาพสังคม

  11. socio-economic security 1 social inclusion 2 3 3 social empowerment 4 4 มิติ ต่างๆของ คุณภาพสังคมDimensions of Social Quality social cohesion

  12. ความมั่นคงทางเศรษฐกิจและสังคม ( Socio – Economic Security ) • เป็นเรื่องการที่ประชาชนมีความมั่นคงทางทรัพยากร รวมถึงทรัพยากรทางการเงิน ที่อยู่อาศัย การดูแลสุขภาพ และการจ้างงาน

  13. ความมั่นคงทางเศรษฐกิจและสังคม (Socio-economic Security) • การมีรายได้เพียงพอที่จะดำรงชีวิตอยู่ได้และดูแลครอบครัว • การมีสุขภาพดี • มีสภาพแวดล้อมที่ดี • ได้รับสวัสดิการในการทำงานที่ไม่ต้องกังวลต้องมาดูแลเอง • และมีเวลาสำหรับช่วยผู้อื่น

  14. Social inclusion • เป็นเรื่องที่ประชาชนจำเป็นต้องเข้าถึงและเข้าร่วมในสถาบันต่างๆ • รวมทั้งความสัมพันธ์ทางสังคมในชีวิตประจำวัน การเข้าถึงการบริการทางสังคมเป็นเรื่องที่สำคัญอย่างมากสำหรับผู้ขาดแคลนทรัพยากร ซึ่งทรัพยากรสามารถช่วยเหลือผู้ขาดแคลนให้กลับสู่เส้นทางหลักของสังคมได้อีกครั้ง (Chan, Raymond K.H., 2007: 50)

  15. เป็นการมีสิทธิในฐานะพลเมือง โดยไม่ถูกแบ่งแยกออกจากสังคมด้วยเหตุผลใดๆ • และยอมรับความแตกต่างด้วย รวมทั้ง ชาติพันธุ์ สถานะทางเพศ อายุ อาชีพ สถานะทางเศรษฐกิจ ตลอดจนมีการให้บริการสาธารณะที่ช่วยผู้ด้อยโอกาสได้มีโอกาสมากขึ้นและเข้าถึงการบริการ ให้สามารถเข้าสู่สังคมได้

  16. ความสามัคคีในสังคม (Social Cohesion) • เป็นการแสดงถึงความสัมพันธ์ในสังคม ค่านิยม บรรทัดฐานและการยอมรับการกระทำเพื่อส่วนรวม • ทั้งนี้ ความสามัคคีในสังคมรวมความเชื่อมั่นไว้วางใจกัน รวมการสร้างเครือข่ายทางสังคม และการมีอัตลักษณ์

  17. เป็นเรื่องของการมีคุณสมบัติของการสร้างความสมานฉันท์ • ยอมรับการอยู่ร่วมกับผู้อื่น • การเข้าไปใช้ชีวิตสาธารณะร่วมกับผู้อื่นได้ โดยรวมกลุ่มทำกิจกรรม มีการติดต่อสื่อสารกับผู้อื่น โดยไม่มีความตึงเครียดในระหว่างคนต่างสถานภาพ รวมทั้งยอมเสียสละเวลา ทรัพยากรส่วนตัวเพื่อส่วนรวมได้

  18. การเสริมสร้างพลังทางสังคม (Social Empowerment) • เป็นการพัฒนาศักยภาพของบุคคล ให้สามารถเข้าสู่สังคม เข้าถึงการบริการสาธารณะ รวมถึงการให้สิทธิ เสรีภาพในการแสดงออก และความคิดเห็นได้รับการตอบสนอง การเข้าไปมีส่วนร่วมทางการเมืองในรูปแบบต่างๆได้ ตลอดจนมีการเสริมสร้างวัฒนธรรมที่ดีงาม การสร้างคุณค่าให้ตัวเองและผู้อื่น

  19. ข้อมูลเพื่อช่วยอธิบายคุณภาพสังคมในประเทศไทยข้อมูลเพื่อช่วยอธิบายคุณภาพสังคมในประเทศไทย • จากผลสำรวจของสถาบันพระปกเกล้า • ข้อมูลสำหรับผลการวิเคราะห์นี้ได้นำมาจากกลุ่มตัวอย่างในประเทศไทย ผลสำรวจล่าสุดจัดทำเมื่อวันที่ 20 ตุลาคม – 10 พฤศจิกายน 2552 • โดยใช้การสุ่มแบบหลายขั้นตอน • กลุ่มตัวอย่างคือบุคคลที่มีสิทธิ์เลือกตั้ง หรือบุคคลที่อายุ 18 ปีบริบูรณ์ขึ้นไป • การสุ่มตัวอย่างแบบ 4 ขั้นตอนขึ้นอยู่กับจังหวัด อำเภอ ตำบล หมู่บ้าน ชุมชน และลงมาถึงกลุ่มตัวอย่าง จำนวนของกลุ่มตัวอย่างทั้งหมดคือ 1,200

  20. ข้อมูลที่สถาบันพระปกเกล้าทำการสำรวจมาหลายปีในเรื่องการเป็นประชาธิปไตย (ตั้งแต่ พ.ศ. 2543 ถึง 2553) ประกอบ

  21. ความมั่นคงทางเศรษฐกิจและสังคม(Socio-economic Security)

  22. ฐานะการเงิน Socio-economic Security

  23. เหตุการณ์และสถานการณ์ที่เกิดขึ้นกับประชาชนในช่วง 12 เดือนที่ผ่านมา –สังคม

  24. โอกาสที่จะต้องออกจากที่อยู่ภายใน 6 เดือน เพราะไม่สามารถรับภาระได้อีก 6.9% 6.9% ต้องย้ายที่อยู่

  25. สิ่งแวดล้อม

  26. เข้าถึงการบริการสุขภาพ Difficulties to see the doctors รอนาน

  27. สวัสดิการจากการทำงาน

  28. ประเมินสุขภาพตนเอง

  29. Socio-economic security Program provided 2004 Health care 1/5 get maternity Leave 1% get day care saving Waiting time delay unsatisfaction 50% just get by health condition condition Solid waste Water quality crime Safety at work medical expense 80.5 % are in good health

  30. Environmental management Socio-economic security the extent to which people have resources over time Need more caring safety More doctors Day care saving

  31. Social Cohesion

  32. การเชื่อมั่นในตัวผู้อื่น • การเชื่อมั่นต่อองค์กร / สถาบัน • การยอมรับผู้อื่น • การเป็นสมาชิกกลุ่ม • ชาตินิยม และมีอัตลักษณ์ • การติดต่อสื่อสารกับผู้อื่น • การไม่มีความตึงเครียดระหว่างคนต่างสถานะ • การยอมรับการอยู่ร่วมกับผู้อื่น • ความเข้าอกเข้าใจผู้อื่น • การเสียสละเพื่อส่วนรวม

  33. ความเชื่อมั่น ไว้วางใจ • เป็นองค์ประกอบสำคัญในการสร้างความเข้มแข็งให้กับประชาธิปไตย เนื่องจากประชาธิปไตยนั้นขึ้นอยู่กับการที่ประชาชนยินดีที่จะมอบชะตาชีวิตของตนเองไว้ในมือของผู้อื่น

  34. เชื่อมั่น ไว้วางใจผู้อื่น • Extent to which ‘most people can be trusted’. • คนส่วนใหญ่ไว้ใจได้

  35. เชื่อมั่น ไว้วางใจผู้อื่น Trust in people from 2002-2010 (percent)

  36. ไว้วางกลุ่มต่างๆ Trust various groups of people คนแปลกหน้า ครอบครัว

  37. เชื่อมั่นในสถาบันต่างๆ Trust institutions

  38. ร้อยละของประชาชน จำแนกตามความคิดเห็นเกี่ยวกับความเชื่อมั่นต่อการทำงานของ คณะบุคคล/สถาบัน/หน่วยงานต่างๆ

  39. Trust institutions (surveyed in 2010)

  40. เชื่อมั่นคณะรัฐมนตรี Trust in cabinet

  41. Trust in Prime Minister

  42. เชื่อมั่นข้าราชการ

  43. เชื่อมั่นพรรคการเมืองTrust in Political Parties

  44. เชื่อมั่นตำรวจ Trust in Police

  45. เชื่อมั่นทหาร Trust in Military

  46. Trust on Independent Organizations (2010)

  47. เชื่อมั่นศาล Trust in Courts

  48. เชื่อมั่นองค์กรอิสระ Trust in Independent Organizations

More Related