1 / 24

3 Problem Definition and Feasibility Study การกำหนดปัญหาและศึกษาความเป็นไปได้

3 Problem Definition and Feasibility Study การกำหนดปัญหาและศึกษาความเป็นไปได้. การกำหนดปัญหาและศึกษาความเป็นไปได้.

raquel
Download Presentation

3 Problem Definition and Feasibility Study การกำหนดปัญหาและศึกษาความเป็นไปได้

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. 3 Problem Definition and Feasibility Study การกำหนดปัญหาและศึกษาความเป็นไปได้ Systems Analysis & Design

  2. การกำหนดปัญหาและศึกษาความเป็นไปได้การกำหนดปัญหาและศึกษาความเป็นไปได้ ปัจจัยหรือแรงผลักดันที่ส่งผลต่อความต้องการเพื่อพัฒนาระบบใหม่อาจจะเกิดขึ้นได้ทั้งปัจจัยภายในและภายนอก ประกอบด้วย 1. ผู้ใช้ร้องขอให้ปรับปรุงระบบใหม่ 2. ผู้บริหารระดับสูงต้องการพัฒนาระบบใหม่ 3. ปัญหาและข้อผิดพลาดของระบบงานปัจจุบัน 4. แรงผลักดันจากภายนอก ส่งเสริมให้มีการปรับปรุงระบบ 5. ส่วนงานบริการสารสนเทศแนะนำให้มีการปรับปรุงระบบ Systems Analysis & Design

  3. การกำหนดปัญหา (Problem Definition ) • Problem Definition (กำหนดปัญหา) สามารถตรวจสอบด้วยวิธีพื้นฐาน 2 ประการ คือ • ตรวจสอบปัญหาจากการปฏิบัติงาน • การทำงานล่าช้า มีข้อผิดพลาดสูง ทำงานไม่ถูกต้อง ไม่สมบูรณ์ ไม่บรรลุวัตถุประสงค์ที่ต้องการ • สังเกตพฤติกรรมของพนักงาน • อ้ตราการเจ็บป่วยสูง ไม่พอใจในงานที่ทำ ไม่กระตือรือล้น การลาออกสูง Systems Analysis & Design

  4. ตัวอย่าง การกำหนดปัญหา (Problem Definition ) • กรณีศึกษา บริษัท BM Car Rent Service Center จำกัด • ความเป็นมาและปัญหา Systems Analysis & Design

  5. การศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการ (Feasibility Study) • 1. ความเป็นไปได้ทางเทคนิค (Technical Feasibility) • สิ่งสำคัญของการศึกษาความเป็นไปได้ทางเทคนิค คือ การวิเคราะห์ความเสี่ยงด้านเทคนิค เพื่อให้ได้คำตอบของคำถามที่ว่า “Can we build it” หมายความว่า พวกเราสามารถพัฒนาได้หรือไม่ ความเป็นไปได้ทางเทคนิคจะข้องเกี่ยวกับรายละเอียด ดังนี้ • จำเป็นต้องหาอุปกรณ์ใหม่หรือไม่ • อุปกรณ์ที่หามาเพื่อระบบใหม่สามารถรองรับเทคโนโลยีในอนาคตได้หรือไม่ • ความเข้ากันได้ของฮาร์ดแวร์ต่าง ๆ กับซอฟต์แวร์ใช้งานร่วมกันได้ดีหรือไม่ • ประสิทธิภาพของฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์มีประสิทธิภาพที่ดีเพียงพอหรือไม่ • ระบบสามารถรองรับการขยายตัวของธุรกิจในอนาคตได้หรือไม่

  6. การศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการ (Feasibility Study) • 2. ความเป็นไปได้ทางเศรษฐศาสตร์ (Economical Feasibility) • คือ ความเป็นไปได้ในเชิงเศรษฐศาสตร์ ซึ่งมักเรียกว่า การวิเคราะห์ต้นทุนและผลกำไร ด้วยการกำหนดต้นทุนทางการเงินและผลตอบแทนที่ได้จากโครงการ และจะประเมินผลกระทบทางการเงิน 4 ประเภท ดังนี้ • ต้นทุนการพัฒนาระบบ (Development Costs) • ต้นทุนการปฏิบัติงาน (Operational Costs) • ผลตอบแทนที่สามารถประเมินค่าได้ (Tangible Benefits) • ผลตอบแทนที่ไม่สามารถประเมินค่าได้ (Intangible Benefits)

  7. การศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการ (Feasibility Study) • ผลตอบแทนที่สามารถประเมินค่าได้ (Tangible Benefits) • การเพิ่มยอดขายและมีรายได้เพิ่มขึ้น , การลดค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับเอกสาร, การลดค่าล่วงเวลา • ผลตอบแทนที่ไม่สามารถประเมินค่าได้ (Intangible Benefits) • ลูกค้ามีทัศนะคติที่ดีต่อบริษัท, ระบบงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น, ความพึงพอใจของพนักงาน

  8. การศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการ (Feasibility Study) 3. ความเป็นไปได้ทางการปฏิบัติงาน (Operational Feasibility) คือ ความเป็นไปได้ของระบบใหม่ที่นำเสนอสารสนเทศได้อย่างถูกต้อง และตรงตามความต้องการของผู้ใช้ สรุปได้ ดังนี้ ผู้ใช้งานเข้าใจในการเปลี่ยนระบบ และสนับสนุนระบบใหม่หรือไม่ ต้องเตรียมอะไรบ้างกับการฝึกอบรมการใช้งานระบบใหม่ให้พนักงาน ระบบใหม่ที่พัฒนาส่งผลกระทบต่อจำนวนพนักงาน หรือไม่ ผู้ใช้มีส่วนร่วมกับการวางแผนระบบใหม่หรือไม่ ขั้นตอนการปฏิบัติงานมีการเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมหรือไม่ ผลกระทบจะส่งผลต่อลูกค้าที่มาใช้บริการหรือไม่ ใช้ระยะเวลาในการพัฒนาระบบใหม่ยาวนานเท่าไร

  9. การวางแผนและการควบคุมกิจกรรม (Activity Planning and Control) การวางแผน (Planning) เป็นการวางแผนที่ประกอบไปด้วยกิจกรรมต่าง ๆ ที่ได้มีการมอบหมายและแจกจ่ายงานให้กับทีมงาน การคาดคะเนเวลาที่ต้องใช้ไปกับงานใด ๆ การกำหนดเวลาโครงการ (Project Scheduling) สามารถจัดทำขึ้นโดยการใช้เทคนิค “แกนท์ชาร์ต” (Gantt Charts) เป็นแผนภูมิอย่างง่ายที่ใช้สำหรับวางแผนและกำหนดเวลาการทำงานของโครงการ Systems Analysis & Design

  10. Gantt Charts Activity งานที่ดำเนินการเสร็จแล้ว ดำเนินการสัมภาษณ์ งานที่ยังไม่ได้ดำเนินการ จัดทำแบบสอบถาม อ่านรายงานของบริษัท วิเคราะห์การไหลของข้อมูล จัดทำโพโตไทป์ สังเกตการณ์ด้านผลกระทบ กำหนดต้นทุนและผลตอบแทน จัดทำข้อเสนอของโครงการ นำเสนอผู้บริหารเพื่ออนุมัติ Weeks 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 Current Weeks Systems Analysis & Design

  11. Systems Analysis & Design

  12. สาเหตุสำคัญที่ส่งผลต่อความล้มเหลวในโครงการซอฟต์แวร์สาเหตุสำคัญที่ส่งผลต่อความล้มเหลวในโครงการซอฟต์แวร์ ขาดการศึกษาความเป็นไปได้ที่ดีพอ ข้อกำหนดหรือความต้องการต่าง ๆ ไม่ชัดเจนพอ ขาดการประสานงานที่ดีระหว่างผู้ใช้กับนักวิเคราะห์ระบบ ขาดการควบคุมที่ดี ซอฟต์แวร์ในปัจจุบันนับวันมีความซับซ้อนยิ่งขึ้นความต้องการต่าง ๆ อาจมีการเปลี่ยนแปลงไปในขณะพัฒนาโปรแกรม ผู้ใช้ไม่ยอมรับในระบบ เนื่องจากไม่สามารถปฏิบัติงานได้ตรงตาม วัตถุประสงค์ของการใช้งาน ระบบงานผิดพลาดบ่อยครั้ง ก่อให้เกิดความไม่น่าเชื่อถือในระบบใหม่ ความไม่ชำนาญงานของตัวนักวิเคราะห์ระบบ ระดับผู้บริหารไม่มีความชัดเจนในนโยบาย ทำให้เกิดความเปลี่ยนแปลงได้ตลอดเวลา

  13. PERT and CPM เทคนิคการประเมินผลและทบทวนโครงการ(Program Evaluation and Review Technique : PERT) ระเบียบวิธีวิกฤต (Critical Path Method : CPM)เป็นเทคนิคเชิงปริมาณด้านการวิเคราะห์ข่ายงาน (Network analysis) ที่ใช้กันแพร่หลายในการวางแผนและควบคุมงานที่มีลักษณะเป็นงานโครงการ (งานที่มีจุดเริ่มต้นและจุดสิ้นสุด และสามารถกระจายเป็นงานย่อยที่มีความสัมพันธ์กันได้) ซึ่งจะช่วยให้ผู้บริหารโครงการสามารถดำเนินโครงการให้สำเร็จตามเวลาและในงบประมาณที่กำหนด Systems Analysis & Design

  14. ความเป็นมาของ PERT PERT พัฒนาขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2501โดยกองทัพเรือสหรัฐร่วมกับ บูซ แอลเลน และ แฮมิลตัน (Booz Allen and Hamilton) และ ล๊อกฮีด แอร์คราฟต์ (Lockheed Aircraft) เพื่อใช้ในการบริหารโครงการขีปนาวุธโพลาริส (Polaris) ซึ่งเป็นโครงการขนาด ลักษณะของโครงการเป็นการวิจัยและพัฒนา ดังนั้นการประมาณระยะเวลาในการดำเนินการต่างๆ ในโครงการจึงไม่สามารถกำหนดลงไปได้แน่นอน จำเป็นต้องนำเอาแนวความคิดของความน่าจะเป็นเข้ามาประกอบด้วย จึงอาจกล่าวได้ว่า จุดเด่นของ PERT คือ การสามารถนำไปใช้กับโครงการที่มีเวลาดำเนินงานไม่แน่นอน Systems Analysis & Design

  15. ความเป็นมาของ CPM CPM พัฒนาขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2500 โดเคลลี (J.E. Kelly) แห่งเรมิงตัน แรนด์ (Remington Rand) ร่วมกับวอล์กเกอร์ (M.R. Walker) แห่งบริษัทดูปองต์ (Dopont) เพื่อใช้ในโครงการก่อสร้างและซ่อมบำรุงเครื่องจักรในโรงงานเคมี โดยเน้นในด้านการวางแผนและควบคุมเวลา ตลอดจนค่าใช้จ่ายโครงการ CPM มักจะนำไปใช้กับโครงการที่ผู้บริหารเคยมีประสบการณ์มาก่อนและสามารถประมาณเวลารวมทั้งค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานของโครงการได้แน่นอน Systems Analysis & Design

  16. ความแตกต่างระหว่าง PERT และ CPM ข้อแตกต่างชัดเจนระหว่าง PERT และ CPM คือ เวลาในการทำกิจกรรม กล่าวคือ เวลาในการทำกิจกรรมของ PERT จะเป็นเวลาโดยประมาณซึ่งคำนวณได้ด้วยการใช้ความน่าจะเป็นจึงใช้กับโครงการที่ไม่เคยทำมาก่อน หรือโครงการซึ่งไม่สามารถเก็บรวบรวมเวลาของการทำกิจกรรมได้ เช่น โครงการพัฒนาวิจัย ส่วน CPM นั้น เวลาที่ใช้ในกิจกรรมจะเป็นเวลาที่แน่นอน ซึ่งคำนวณได้จากข้อมูลที่เคยทำมาก่อน เช่น อัตราการทำงานของงานแต่ละประเภท อัตราการทำงานของเครื่องจักร เป็นต้น CPM จึงใช้กับโครงการที่เคยทำมาก่อน ซึ่งมีความชำนาญแล้ว เช่น งานก่อสร้าง

  17. สัญลักษณ์ต่าง ๆ และความหมายที่ใช้ใน PERT สัญลักษณ์ ความหมาย จุดเชื่อมต่อหรือโหนด (Node) แสดงถึงเหตุการณ์ตั้งแต่เริ่มต้นจนจบโครงการ A 2 1 เส้นตรงที่เชื่อมต่อระหว่างโหนด แสดงกิจกรรมหรืองานที่ทำ ส่วนหัวลูกศรคือจุดเสร็จสิ้นของกิจกรรมหรืองานที่ทำ 3 เส้นปะที่เชื่อมต่อระหว่างโหนด แสดงกิจกรรมหรืองานสมมติ (Dummy Activity)ซึ่งเป็นกิจกรรมที่ไม่มีตัวตนในโครงการแต่จำเป็นต้องใส่ไว้เพื่อให้ถูกต้องตรงกับความเป็นจริง 4 Systems Analysis & Design

  18. 3 B A 1 2 5 C D 4 6 ตัวอย่าง PERT แบบที่ 1

  19. C งาน งานที่ต้องเสร็จก่อน A - B - C A D B E C,D 3 2 A 1 6 B D E 4 5 7 ตัวอย่าง PERT แบบที่ 2

  20. งาน งานที่ต้องเสร็จก่อน A - B - C A D A,B C 2 A 5 D 1 4 B 4 ตัวอย่าง PERT แบบที่ 3

  21. งาน งานที่ต้องเสร็จก่อน ระยะเวลา(สัปดาห์)A - 2 B - 1 C - 1 D A 3 E B 3 F C 2 G D 3 H F 2 D,3 3 2 G,3 A,2 E,3 B,1 1 4 7 C,1 F,2 H,2 5 6 ตัวอย่าง PERT แบบที่ 4 แสดงระยะเวลาของแต่ละงาน สายงานที่ 1 1-2-3-7=2+3+3=8 สายงานที่ 2 1-4-7 = 1+3=4 สายงานที่ 3 1-5-6-7 = 1+2+2 =5

  22. สายงานวิกฤต (Critical Paths) เส้นทางงานวิกฤต (Critical Paths) จะพิจารณาจากเส้นทางงานที่มีเวลารวมยาวนานที่สุด ซึ่งในที่นี้ คือ เส้นทางงาน1-2-3-7 รวมเวลาทั้งสิ้น 11 วัน นั่นหมายถึงเส้นทางงานทุกอย่างในแต่ละขั้นตอน จะแล้วเสร็จโดยใช้เวลา 11 วันโดยในโครงการอาจมีเส้นทางงานวิกฤตมากกว่า 1 เส้นทางงานก็เป็นได้ การเร่งโครงการ สามารถทำได้ด้วยการเร่งกิจกรรมภายในสายงานวิกฤต

  23. หลักเกณฑ์ในการสร้างข่ายงาน ดังนี้ 1. จุดเริ่มต้นของโครงการมีจุดเดียวอยู่ด้านซ้ายของข่ายงาน 2. จุดสิ้นสุดของโครงการมีจุดเดียว อยู่ด้านขวาของข่ายงาน 3. แต่ละกิจกรรมจะใช้แทนด้วยเส้นลูกศรเพียงเส้นเดียวในข่ายงาน 4. กิจกรรมมากกว่า 1 กิจกรรมจะเริ่มต้นที่จุดเดียวกันและแล้วเสร็จที่จุดเดียวกันไม่ได้ 5. จุดที่แสดงเหตุการณ์สิ้นสุดของกิจกรรมควรเขียนเยื้องมาทางขวา 6. พยายามหลีกเลี่ยงการเขียนเส้นลูกศรไขว้กัน 7. ระยะเวลาดำเนินงานของกิจกรรมไม่มีความสัมพันธ์กับความยาวของเส้นลูกศรที่ใช้แทนกิจกรรมนั้นๆ 8. การกำหนดหมายเลขจุดเชื่อมในข่ายงาน นิยมให้จุดเริ่มต้นของกิจกรรมมีตัวเลขต่ำกว่าจุดสิ้นสุดกิจกรรม

  24. The End Chapter 3

More Related