1 / 95

Chapter 8 8.1 การใช้แนวคิดทางการบริหารธุรกิจในการวิเคราะห์ความสามารถในการแข่งขันของภาคอุตสาหกรรม

Chapter 8 8.1 การใช้แนวคิดทางการบริหารธุรกิจในการวิเคราะห์ความสามารถในการแข่งขันของภาคอุตสาหกรรม. EC 482. ทฤษฎีความได้เปรียบเชิงแข่งขันของ Michael E. Porter. การแข่งขันในทางธุรกิจเป็นประดุจพลังขับเคลื่อนการขยายตัวเศรษฐกิจให้สูงขึ้น

raisie
Download Presentation

Chapter 8 8.1 การใช้แนวคิดทางการบริหารธุรกิจในการวิเคราะห์ความสามารถในการแข่งขันของภาคอุตสาหกรรม

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Chapter 88.1 การใช้แนวคิดทางการบริหารธุรกิจในการวิเคราะห์ความสามารถในการแข่งขันของภาคอุตสาหกรรม EC 482

  2. ทฤษฎีความได้เปรียบเชิงแข่งขันของ Michael E. Porter • การแข่งขันในทางธุรกิจเป็นประดุจพลังขับเคลื่อนการขยายตัวเศรษฐกิจให้สูงขึ้น • การแข่งขันเป็นแรงผลักดันให้มีการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ • สภาพการแข่งขันในปัจจุบัน ทำให้ผู้ผลิตต้องเผชิญทั้งการแข่งขันที่เกิดจากคู่แข่งตลาดภายในประเทศและคู่แข่งขันจากต่างประเทศ • Michael E. Porter ได้พัฒนาเครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาระดับความสามารถทางการแข่งขันของอุตสาหกรรม • แนวคิดภาวะการแข่งขันการค้าในโลก คือ ประเทศทุกประเทศย่อมพยายามเลือกยุทธวิธีที่ดีที่สุดที่ก่อให้เกิดความได้เปรียบทางด้านการแข่งขัน (competitive advantage) ในอุตสาหกรรมของประเทศ

  3. การประเมินจุดแข็ง จุดอ่อน โอกาสและอุปสรรคการแข่งขันของอุตสาหกรรมภายในประเทศ ทำให้ทราบถึงแนวทางการปรับตัวให้สามารถแข่งขันได้อย่างมีประสิทธิภาพในตลาดโลก • Porter พยายามหาคำอธิบายว่า “ทำไมอุตสาหกรรมในบางประเทศจึงมีความสามารถในการแข่งขันสูงกว่าประเทศอื่น” • ข้อได้เปรียบทางด้านการแข่งขัน (competitive advantage) ไม่ใช่สิ่งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ แต่เป็นสิ่งที่สามารถสร้างขึ้นมาได้และเปลี่ยนแปลงได้ทั้งทางบวกและลบ • Porter ได้สร้างแบบจำลอง Diamond Model เพื่อวิเคราะห์เงื่อนไขและสภาพแวดล้อมภายในประเทศที่เอื้อต่ออุตสาหกรรมภายในประเทศ

  4. Diamond Model มีปัจจัยภายใน 4 ประการ 1) เงื่อนไขทางด้านปัจจัยการผลิต (factor conditions) 2) เงื่อนไขทางด้านความต้องการหรืออุปสงค์ (demand conditions) 3) อุตสาหกรรมที่สนับสนุนและเกี่ยวเนื่อง (supporting and related industries) 4) กลยุทธ์ โครงสร้างและสภาพการแข่งขันของผู้ผลิต (firm strategy, structure and rivalry)

  5. กลยุทธ์ โครงสร้าง และสภาพการแข่งขัน เหตุสุดวิสัย เงือนไขด้านปัจจัย การผลิตในประเทศ เงื่อนไขทางด้านอุปสงค์ในประเทศ อุตสาหกรรมสนับสนุนและเกี่ยวเนื่องในประเทศ Gov’t Diamond Model ที่สมบูรณ์

  6. เงื่อนไขทางด้านปัจจัยการผลิต (factor conditions) • ทรัพยากรมนุษย์ (human resource) • ทรัพยากรทางการภาพ (physical resource) • ทรัพยากรทางด้านความรู้ (knowledge resource) • ทรัพยากรทางด้านเงินทุน (capital resource) • สาธารณูปโภค (infrastructure)

  7. 2) เงื่อนไขทางด้านความต้องการหรืออุปสงค์ (demand conditions) • โครงสร้างการแบ่งตลาดของอุปสงค์ภายในประเทศ (segment structure of demand) • ผู้ซื้อที่รู้จริง (sophisticated and demanding buyers) • ความต้องการของผู้ซื้อในประเทศที่เกิดขึ้นก่อนประเทศอื่น (anticipatory buyer needs)

  8. 3) อุตสาหกรรมที่สนับสนุนและเกี่ยวเนื่อง (supporting and related industries) • การรวมกลุ่มเครือข่ายธุรกิจ (cluster) • พื้นฐานอุตสาหกรรมที่สนับสนุนและเกี่ยวเนื่องในประเทศ 4) กลยุทธ์ โครงสร้างและสภาพการแข่งขันของผู้ผลิต (firm strategy, structure and rivalry) • สภาพการแข่งขันภายในประเทศ • การป้องกันการผูกขาด • การบริหารจัดการของบริษัท

  9. ปัจจัยภายนอก • 1) รัฐบาล (government) -นโยบายรัฐบาล • 2) เหตุสุดวิสัย หรือโอกาส (chance) -การเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี -ตลาดการเงินโลก อาทิ อัตราแลกเปลี่ยน -สงคราม

  10. โครงสร้างและสภาพการแข่งขันของผู้ผลิตภายในประเทศโครงสร้างและสภาพการแข่งขันของผู้ผลิตภายในประเทศ • ในการวิเคราะห์การแข่งขันระหว่างผู้ผลิตภายในประเทศนั้น Porter ได้สร้างแบบจำลอง “แรงผลักดัน 5 ประการ” (Five Forces Model of Competition) เป็นเครื่องมือที่ใช้ในการวิเคราะห์สภาพการแข่งขันของอุตสาหกรรม

  11. Five Forces Model of Competition 1) การเข้ามาในตลาดของผู้ประกอบการรายใหม่ (new entrants of the market) 2) อำนาจต่อรองของผู้ขายปัจจัยการผลิต (the bargaining of the firm’s supplies) 3) อำนาจต่อรองของผู้ซื้อ (the bargaining power of buyers) 4) ผลิตภัณฑ์ที่ทดแทนกันได้ (substitutes product) 5) ความเข้มข้นของการแข่งขันระหว่างผู้แข่งขันในอุตสาหกรรม (the intensity of rivalry among competitors)

  12. (2) การประเมินขีดความสามารถในการแข่งขัน • การประเมินขีดความสามารถในการแข่งขันโดยวิธี SWOT Analysis • การประเมินอัตราการแข่งขันภายประเทศโดยวิธี Five Competition Forces • การประเมินขีดความสามารถในการแข่งขันโดยแบบจำลอง Diamond

  13. การประเมินขีดความสามารถในการแข่งขันโดยวิธี SWOT Analysis • กรณีศึกษา จุดอ่อน จุดแข็ง โอกาสและภัยคุกคาม (SWOT Analysis) ในอุตสาหกรรมขึ้นรูปความเที่ยงตรงสูงในอุตสาหกรรมชิ้นส่วนไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ และอุตสาหกรรมยานยนต์ของประเทศไทย • อุตสาหกรรมขึ้นรูปความเที่ยงตรงสูงเป็นอุตสาหกรรมกลางน้ำที่สำคัญของอุตสาหกรรมชิ้นส่วนไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ และอุตสาหกรรมยานยนต์

  14. การการประเมินอัตราการแข่งขันภายประเทศโดยวิธี Five Competition Forces

  15. การประเมินขีดความสามารถในการแข่งขันโดยแบบจำลอง Diamond

  16. Industry Based Economy Knowledge Based Economy • Mass Customization • Critical Mass • Knowledge Intensive • Economies of Skills • Economies of Speed • Mass Production • Standardization • Capital Intensive • Economies of Scale • Economies of Scope World Economy • Resource and Labor Intensive • International Division of Labor • Investment Driven ? Thai Economy Can Thailand Compete in the New Competitive Landscape?

  17. Our Level of Internationalization 5 US 4 3 2 Growth in Import Share China India 1 Vietnam EU Singapore Philippines 0 Japan - 1 1 Thailand Malaysia/Indonesia - 1 Growth in Export Share Source: WTO International Trade Statistics 2001

  18. Our Export Performance Baht Devaluation 17.1 8.8 96 99 01 97 98 00 02 / / / / / / / 1 1 1 1 1 1 1 q q q q q q q -9.2 -13.8 Export Volume Index Export Price Index Source: Ministry of Finance

  19. Our Major Competitors Correlation of Structure of Manufacture Export China Hong Kong Indonesia South Korea Malaysia Philippines Singapore Thailand Taiwan China 1 0.59 1 Hong Kong 0.35 0.17 1 Indonesia • Lack of Focus • Lack of • Differentiation 0.21 0.40 0.10 1 South Korea 0.17 0.43 0.18 0.73 1 Malaysia 0.31 0.51 0.21 0.66 0.82 1 Philippines 0.20 0.36 0.07 0.66 0.74 0.62 1 Singapore 0.57 0.54 0.21 0.52 0.59 0.58 0.70 1 Thailand 0.35 0.44 0.09 0.64 0.67 0.56 0.81 0.76 1 Taiwan Source: Lall et al (1999)

  20. Share in World Foods Export Top Three Share Thailand VS. China 32.2 32.3 3.1 Netherlands 2.5 2.4 26 2.1 France 1.4 1.3 1980 1990 2000 USA 1980 1990 2000

  21. More for Less 24.9 12.7 Rice World Market Share 2000 10.2 10.0 8.8 8.1 Thailand USA Vietnam India China Pakistan 147.9 _ X = 279.7 $US/Metric Ton 25.8 -15.2 -12.9 -87.8 -91.4 6.66 6.35 4.26 4.25 3.59 Rice Productivity 3.24 3.19 3.17 2.96 2.57 Japan Vietnam Bangladesh Philippines India China Indonesia Brazil Myanmar Thailand

  22. Thai Manufacturing Sector’s Competitive Position High • Leather • Electronics • Autos • Foods • Garment • Jewelry Cluster I • Rubber • Wood Products • Pulp & Paper • Plastics • Ceramics & Glass • Chemicals Level of Industry Attractiveness Cluster II • Metals • Petrochemicals • Machinery Cluster III Low High Low Thai Producers’ Competitiveness

  23. Zooming in the First Cluster • Frozen Chicken • Frozen Shrimp 80 60 Passenger Car % Local Content Footwear Pick Up 40 Fabric,Woven • Apparel Jewelry Computer Equipment 20 • Precious Stones Electric Appliances 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 % Export Share

  24. Technology and Design Competitive Nutcracker: Apparel 18,500 Top Three Italy (2) Leaders 16,400 15,700 15,600 Hong Kong (3) Hong Kong / Design differentiation based competition Italy Thailand (11) China (1) China Low Cost-based competition Followers 1,105 1,259 1,044 1,080 Thailand Low Cost Differentiation Competitive Advantage 1997 1998 1999 2000

  25. Thai Service Sector’s Competitive Position • Business Services • Communications • Environmental • Management • Construction & • Engineering • Education • Health & Social • Tourism &Travel • Recreation, Culture, • Sporting High Level of Industry Attractiveness • Distribution • Financial • Services • Transports Low High Low Thai Producers’ Competitiveness

  26. International Comparison of R&D Investment Our Investment for the Future Are Significantly Low 3.5 3.0 2.5 2.0 1.5 1.0 0.5 0 Japan Korea USA Taiwan Singapore Malaysia Thailand Source: Thailand Economic Monitor, June 2000

  27. Gaps in Science and Technology (At Current Level of Demand) 10,963 We Still Deal With a Wide Manpower Gap in Science and Technology 1996 7,015 2001 5,874 4,520 541 180 (113) (352) B. Engineering B. Science M.Eng /D. Eng MS/DS Source: Lall (1999), Raising Competitiveness in Thai Economy, Country Employment Policy Review, ILO.

  28. ...So We Cast Doubt on Our Ability to Compete Software Industry High • HR Capabilities • Number • Wages • Skills USA India UK Germany China France Indonesia Thailand Ireland Philippines Singapore Low Low High • Entrepreneurial Capabilities • Number • Quality Source: Nasscom 1999

  29. Thailand’s Current Technology Position Technology Achievement Index Dynamic Adopter Potential Leader Leader Maginalized Uruguay South Africa Thailand Panama Brazil Philippines Bolivia China Columbia Peru Jamaica Iran Indonesia India Sri Lanka Algeria Egypt Finland US Sweden Japan Korea Netherlands UK Canada Australia Singapore Germany Norway Ireland Belgium New Zealand Austria France Israel Spain Italy Czech Hungary Slovenia HK Slovakia Greece Bulgaria Poland Malaysia Croatia Mexico Cyprus Argentina Romania Costa Rica Chile Pakistan Senegal Nicaragua Ghana Kenya Sudan Tanzania

  30. Thailand At the Crossroad • Singapore Mature/Stable Market Economy First Sphere • Thailand • South Korea • Vietnam Second Sphere • Pakistan Stagnant/Chaotic Economy Third Sphere Mature/Stable Liberal Democracy Political Disorder Source: Tanaka Akihiko

  31. Our Flagship Products Finland Switzerland Ireland Scotland India Singapore Mobile Phone Pharmaceuticals; Tourism; Foods; Watches Wireless Technology Whisky; Biotechnology; Energy Software; Talents Professional Services; Regional Financial Center Thailand Source: Moving the Nation by Dr. Suvit Maesincee

  32. Cultural Influence Craftsmanship Skills High Tech Delicate Living Flavorful Sense Peace of Mind Level of Sophistication Low Tech Low Touch High Touch Level of Customization Potential Global Niches • Software • Auto industry • Fashion • Foods • Tourism

  33. A Nation Orientating Toward a Knowledge Driven Platform Will Consider Outsourcing Much of Its Capital Intensive Production Related Processes Value added Potentials Focus of Thai Producers Production Marketing R&D

  34. ...And Freeing up Capital to Focus on the Parts of Their Industries That Can Be Globally Differentiated Low Cost Leaders Production Marketing R&D Differentiators Knowledge based companies will focus on building brand, capturing ‘ownership’ of the customer, end market leadership and investing in knowledge-based core competencies

  35. Thai Fashion Design Local Karita Toffy Boutique AIIZ X-ACT Dapper Regional Market Senada Fly Now Pena Group Apparel Avenue Heart & Mind Global OBM OEM ODM Product Upgrading Our Entrepreneurs From Being Subcontractors to Being Brand-Owners... FashionBusinessValueSystem 75-90% 50-75% 35-40% 10-35% SHOP BRAND OEM ODM OBM To Reap More Value Added and Growth Potentials

  36. Investment Driven Platform Knowledge Driven Platform Constructive Environment FinancialCapital Wealth Investment Wealth Talents Job Creation Value Created ICT as an enabler Physical infrastructure as an enabler Transforming from Investment Driven to Knowledge Driven Platform

  37. A Cluster Provides a Conducive Platform for the Creation, Diffusion, Adoption and Interaction of Innovation Knowledge Driven Platform Innovation Cycle Creation Clustering Development “Lift-off” Diffusion Interaction Extending Adoption Emerging

  38. Most of Thai Industry Clusters Are Still in the Emerging Stage Rural Enterprises Industrial Districts Local Family Enterprises Traditional Subcontractors Medium Sized Niche Enterprises Process Related National SME Networks International Global Subcontractors International Local National Market Related Source: Bianchi and Tommaso

  39. Physical Capital Social Capital Clustering Formation Co-Prosperity Financial Capital Human Capital Key Success Factors For Clustering Formation Interactivity Connectivity Creativity Liquidity

  40. Making Thailand Globally Attractive Characteristics Old New Labor Low cost, unskilled Quality, Higher skilled Tax Climate Low tax, low service Modest tax, high service Incentives Least cost production, cheap land and labor Value-added adaptable labor force, professionals Amenities Housing and Transportation Culture, recreation, museums, shopping, airport Schools Availability Quality Schools Higher Education Not Key Quality schools and research facilities Regulation Minimum Compatible quality of life and business flexibility Energy Cost/Availability Dependability/reliability Communication Assumed Technology access Business Aggressive chamber of commerce Partnership Source: Kotler, 1999

  41. 8.2 ความสามารถในการแข่งขันระหว่างประเทศของภาคอุตสาหกรรม เอกสารประกอบคำบรรยาย วิชาเศรษฐศาสตร์การพัฒนาอุตสาหกรรม (ศ.482) จากงานวิจัยเรื่อง “การวัดความสามารถในการแข่งขันของอุตสาหกรรมไทยโดยใช้ดัชนี” ของ รศ.ดร.ชัยยุทธ ปัญญสวัสดิ์สุทธิ

  42. ความสามารถในการแข่งขัน(Competitiveness)ความสามารถในการแข่งขัน(Competitiveness) • ระดับกิจการ • ระดับอุตสาหกรรม • ระดับประเทศ • World Economics Forum (WEF) และ International Institute for Management Development (IMD): “เป็นความสามารถของประเทศที่จะรักษามูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจไว้ได้ในระยะยาวโดยเปรียบเทียบกับคู่แข่ง”

  43. การประเมินโดยสถาบัน WEFและ IMD พิจารณาจากปัจจัย 8 ด้านได้แก่ • ความแข็งแกร่งทางเศรษฐกิจ • ความสามารถในการพัฒนาประเทศเข้าสู่ระบบนานาชาติ • ความสามารถของรัฐบาล • การพัฒนาของระบบการเงินและตลาดทุน • โครงสร้างพื้นฐานทางเศรษฐกิจ • ความสามารถในการบริหารและจัดการ • ความสามารถในการพัฒนาและวิจัยด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี • ทรัพยากรบุคคล

  44. ข้อจำกัดของการประเมินตามแบบของ WEF และ IMD การประเมินไม่สามารถระบุแน่ชัดได้ว่า • ปัจจัยที่ใช้ประเมินเป็นเหตุหรือเป็นผล • ปัจจัยใดที่มีความสำคัญมากที่สุดต่อการเพิ่มขีดความสามารถ • ปัจจัยบางด้านเป็นปัจจัยระยะสั้นปนกับปัจจัยระยะยาว • ปัจจัยมีความสัมพันธ์กันเองค่อนข้างสูง  การจัดลำดับของประเทศต่างๆ

  45. ความสามารถในการแข่งขันของประเทศสำหรับนักเศรษฐศาสตร์ความสามารถในการแข่งขันของประเทศสำหรับนักเศรษฐศาสตร์ • McCulloch (1985) • ฐานะหรือความสำเร็จทางการค้า (Trade Performance)ซึ่งพิจารณาจากการเกินดุล/ขาดดุลการค้า • ดุลการค้าของอุตสาหกรรม (Sectoral Trade Balance) ซึ่งจะพิจารณาเฉพาะภาคอุตสาหกรรมหรือสินค้า • ส่วนแบ่งตลาด (Market Share) • ผลิตภาพการผลิต (Productivity) ซึ่งวัดจากผลิตภาพของแรงงาน (labor productivity) หรือผลิตภาพการผลิตรวม (Total Factor Productivity) หรือ การขยายตัวของผลิตภาพการผลิตโดยรวมหรือ Total Factor Productivity Growth)

  46. ความสามารถในการแข่งขันของประเทศสำหรับนักเศรษฐศาสตร์ (ต่อ) • การนำเอาแนวคิดเรื่องความสามารถในการแข่งขันของหน่วยผลิตไปประยุกต์กับประเทศเป็นการอุปมาอุปมัยที่ผิดพลาด (Pual Krugman) • นักเศรษฐศาสตร์วิเคราะห์ความสามารถของระบบเศรษฐกิจจากอัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจหรือปัจจัยระยะยาวที่อยู่เบื้องหลังการขยายตัว  มักเปรียบเทียบความสามารถในการใช้ทรัพยากรของแต่ละระบบเศรษฐกิจมักเปรียบเทียบจากตัวเลข TFPG หรือ Real GDP growth • พิจารณาปัจจัยทางเศรษฐกิจอื่นๆที่มีผลกระทบต่ออัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจ เช่น นโยบายของรัฐ ระดับอัตราดอกเบี้ย อัตราค่าจ้างแรงงานที่แท้จริง และอัตราแลกเปลี่ยนที่แท้จริง

  47. ความสามารถในการแข่งขันระดับหน่วยผลิตความสามารถในการแข่งขันระดับหน่วยผลิต Michael Porter : แรงผลักดัน 5 ด้าน • แนวโน้มการเข้าสู่ตลาดของผู้ประกอบการรายใหม่ ( Potential Entrants) • สินค้า / บริการทดแทน ( Substitutes ) • ผู้จัดส่งวัตถุดิบและสินค้าขั้นกลาง ( Suppliers ) • ผู้ซื้อสินค้า ( Buyers) • การแข่งขันภายในอุตสาหกรรมเดียวกัน ( Industry Competitors )

  48. ความสามารถในการแข่งขันระดับหน่วยผลิตความสามารถในการแข่งขันระดับหน่วยผลิต เงื่อนไขสำคัญต่อความสามารถในการแข่งขันของอุตสาหกรรม (Locational competitive advantage) • เงื่อนไขด้านปัจจัยการผลิต • เงื่อนไขด้านอุปสงค์ • ความเชื่อมโยงของอุตสาหกรรมหลักและอุตสาหกรรมสนับสนุน • ระดับการแข่งขันของสินค้านั้นๆ • Other Key words: Core Competency, Outsourcing, Dynamic Capabilities, Value Chain

More Related