1 / 20

การควบคุมและป้องกันโรคขาดสารไอโอดีน ในประเทศไทย

การควบคุมและป้องกันโรคขาดสารไอโอดีน ในประเทศไทย. นายแพทย์กิตติ ลาภสมบัติศิริ สำนักโภชนาการ 18 พฤษภาคม 2555. ไอโอดีนสำคัญอย่างไร ?. ช่วยในการพัฒนาระบบประสาทและเซลล์ โดยเฉพาะ 3 เดือนแรกของการตั้งครรภ์ ภาวะขาดสารไอโอดีนเพียงเล็กน้อยก็ส่งผลกระทบต่อระดับไอคิว (ทำให้ระดับไอคิวต่ำลง10-15 จุด).

Download Presentation

การควบคุมและป้องกันโรคขาดสารไอโอดีน ในประเทศไทย

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การควบคุมและป้องกันโรคขาดสารไอโอดีนในประเทศไทยการควบคุมและป้องกันโรคขาดสารไอโอดีนในประเทศไทย นายแพทย์กิตติ ลาภสมบัติศิริ สำนักโภชนาการ 18 พฤษภาคม 2555

  2. ไอโอดีนสำคัญอย่างไร ? • ช่วยในการพัฒนาระบบประสาทและเซลล์ โดยเฉพาะ 3 เดือนแรกของการตั้งครรภ์ • ภาวะขาดสารไอโอดีนเพียงเล็กน้อยก็ส่งผลกระทบต่อระดับไอคิว • (ทำให้ระดับไอคิวต่ำลง10-15 จุด) สมองที่ได้รับไอโอดีนสมบูรณ์ สมองที่ขาดไอโอดีน ที่มา: ข้อมูลจาก UNICEF

  3. ความสำคัญของไอโอดีน ไอโอดีน มีความสำคัญในการสร้างธัยรอยด์ฮอร์โมน - จำเป็นต่อการสร้างเซลล์สมองและเครือข่ายเส้นประสาท โดยเฉพาะอย่างยิ่งทารกในครรภ์และเด็กเล็ก - หากขาดสารไอโอดีนจะทำให้การพัฒนาของสมองไม่เต็มที่ ลดระดับสติปัญญา (IQ) ของเด็กลงได้ถึง 10-15จุด มีปัญหาการเรียน กระทบต่อการเจริญเติบโต - ถ้าขาดไอโอดีนรุนแรงจะเป็นโรคเอ๋อ และคอพอก

  4. กรมอนามัยดำเนินการแก้ไขปัญหา โดยใช้ยุทธศาสตร์ 6 เรื่อง ดังนี้

  5. การจัดทำระบบการเฝ้าระวังติดตามและประเมินผลโครงการการจัดทำระบบการเฝ้าระวังติดตามและประเมินผลโครงการ ระบบเฝ้าระวังเพื่อการควบคุมและป้องกัน ภาวะขาดสารไอโอดีน การเฝ้าระวังในคน การเฝ้าระวังในเกลือ

  6. เกณฑ์ในการประเมินภาวะไอโอดีนในระดับประชากรกลุ่ม โดยพิจารณาจากค่ามัธยฐานของระดับไอโอดีนในปัสสาวะ (WHO, UNICEF, ICCIDD 2007)

  7. สัดส่วนของหญิงตั้งครรภ์ที่มีความเข้มข้นของไอโอดีนในปัสสาวะน้อยกว่า 150 ไมโครกรัมต่อลิตร • น้อยกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 50หมายถึง กลุ่มประชากรหญิงตั้งครรภ์ในพื้นที่นี้ ได้รับไอโอดีนเพียงพอ มาตรการในการดำเนินงาน ขอให้ดูตามคำแนะนำตามค่ามัธยฐานของความเข้มข้นของไอโอดีนในปัสสาวะของหญิงตั้งครรภ์ในกลุ่มเดียวกัน • มากกว่าร้อยละ 50 หมายถึง กลุ่มประชากรหญิงตั้งครรภ์ในพื้นที่นี้ ขาดสารไอโอดีน ควรเร่งดำเนินมาตรการหลัก คือ การใช้เกลือเสริมไอโอดีนและผลิตภัณฑ์ปรุงรสให้มีไอโอดีนเพียงพอตามประกาศกระทรวงสาธารณสุขและครอบคลุมพื้นที่ รวมทั้งการให้ยาเม็ดเสริมไอโอดีนที่มีไอโอดีน 150-200 ไมโครกรัมวันละ 1 เม็ดต่อเนื่องตลอดการตั้งครรภ์จนถึงหลังคลอดที่เลี้ยงลูกด้วยนมแม่ 6 เดือน

  8. ค่ามัธยฐานระดับไอโอดีนในปัสสาวะหญิงตั้งครรภ์ (ไมโครกรัม/ลิตร) ปี 2543 – 2553

  9. ร้อยละหญิงตั้งครรภ์ที่มีระดับไอโอดีนในปัสสาวะต่ำกว่าเกณฑ์ ปี 2543 – 2553 ก่อนปี 2550 ใช้เกณฑ์ 100 ไมโครกรัม/ลิตร ปี 2550 ถึงปัจจุบัน ใช้เกณฑ์ 150 ไมโครกรัม/ลิตร

  10. ปริมาณไอโอดีนในปัสสาวะหญิงตั้งครรภ์ ปี 2553 สถานการณ์ไอโอดีนในหญิงตั้งครรภ์ ปี 2553-2554

  11. ปริมาณไอโอดีนในปัสสาวะหญิงตั้งครรภ์ ปี 2553 สถานการณ์ไอโอดีนในหญิงตั้งครรภ์ ปี 2553-2554

  12. ปริมาณไอโอดีนในปัสสาวะหญิงตั้งครรภ์ ปี 2553 สถานการณ์ไอโอดีนในหญิงตั้งครรภ์ ปี 2553-2554

  13. ปริมาณไอโอดีนในปัสสาวะหญิงตั้งครรภ์ ปี 2553 สถานการณ์ไอโอดีนในหญิงตั้งครรภ์ ปี 2553-2554

  14. เปรียบเทียบสถานการณ์การได้รับไอโอดีนในหญิงตั้งครรภ์ ปี 2553-2554

  15. พัฒนาการสมวัยเด็กแรกเกิดถึง 5 ปี (Denver II) ปี 2542 2547 และ 2550 (สำนักส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย)

  16. ระดับสติปัญญา(ไอคิว)ของเด็กไทยระดับสติปัญญา(ไอคิว)ของเด็กไทย งานวิจัยของโรงพยาบาลรามาธิบดี (ระดับไอคิวปกติ = 90 – 110)

  17. ผลการสำรวจระดับสติปัญญา(ไอคิว)ของเด็กไทยผลการสำรวจระดับสติปัญญา(ไอคิว)ของเด็กไทย กรมสุขภาพจิต 2549-2550, สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข 2551-2552 (ระดับไอคิวปกติ = 90 – 110)

  18. การเสริมสารอาหารสำคัญในหญิงตั้งครรภ์ (ต่อ) • กระทรวงสาธารณสุข มีนโยบายให้หญิงตั้งครรภ์ทุกคนได้รับ “ยาเม็ดเสริมสารอาหารสำคัญ” โดยสามารถรับได้ที่คลินิกฝากครรภ์ รับประทานวันละ 1 เม็ด ตลอดการตั้งครรภ์ และขณะเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ 6 เดือน

  19. การเสริมสารอาหารสำคัญในหญิงตั้งครรภ์การเสริมสารอาหารสำคัญในหญิงตั้งครรภ์ • ยาเม็ดเสริมสารอาหารสำคัญ ซึ่งผลิตโดยองค์การเภสัชกรรม • Triferdine 150 ใน 1 เม็ด ประกอบด้วย ไอโอดีน 150 ไมโครกรัม อยู่ในรูปของ Potassium iodide ธาตุเหล็ก 60.81 มิลลิกรัม อยู่ในรูปของ Ferrous fumarate 185 มิลลิกรัม Folic acid 400 ไมโครกรัม • Iodine GPO 150 ใน 1 เม็ด มีไอโอดีน 150 ไมโครกรัม (พิจารณาเลือกใช้ Triferdine 150 หรือ Iodine GPO 150 อย่างใดอย่างหนึ่ง)

  20. สวัสดี ไอโอดีนมีคุณค่า เสริมปัญญาคนทุกวัย

More Related