1 / 29

การจัดระบบการดูแลรักษาโดย ผู้ประสานงาน (HIV Coordinator) ในโรงพยาบาลทั่วไป

การจัดระบบการดูแลรักษาโดย ผู้ประสานงาน (HIV Coordinator) ในโรงพยาบาลทั่วไป. พญ.อภัชฌา พึ่งจิตต์ประไพ. โครงสร้างการบริหารจัดการ. โครงสร้างการบริหารจัดการ. Refer. NAP ARV. guideline. แนวทางปฏิบัติในการดูแลผู้ป่วยติดเชื้อเอดส์ที่ OPD.

Download Presentation

การจัดระบบการดูแลรักษาโดย ผู้ประสานงาน (HIV Coordinator) ในโรงพยาบาลทั่วไป

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การจัดระบบการดูแลรักษาโดยผู้ประสานงาน (HIV Coordinator) ในโรงพยาบาลทั่วไป พญ.อภัชฌา พึ่งจิตต์ประไพ

  2. โครงสร้างการบริหารจัดการโครงสร้างการบริหารจัดการ

  3. โครงสร้างการบริหารจัดการโครงสร้างการบริหารจัดการ Refer • NAP • ARV guideline

  4. แนวทางปฏิบัติในการดูแลผู้ป่วยติดเชื้อเอดส์ที่ OPD ผู้ที่จะรับการตรวจเลือด anti HIV จำเป็นจะต้องได้รับการ Pretest และ Posttest counselingจาก counseler เสมอ ถ้าผลเลือดเป็นบวกต้องได้รับการตรวจยืนยันผลและให้ส่งตรวจห้องตรวจอายุรกรรมต่อไป แพทย์อายุรกรรมทำการตรวจและประเมินผู้ป่วย ดังนี้ 1) ซักประวัติตรวจร่างกายประเมินระยะของโรค 2) ค้นหาและรักษา Opportunistic infections, STD 3) พิจารณาให้ OI prophylaxis 4) ส่ง counseling เรื่องการดูแลสุขภาพและให้ความรู้เกี่ยวกับการกินยา ARV 5) ถ้าผู้ป่วยพร้อมที่จะรับยา ARV ให้นัดเข้าคลีนิกสุขภาพพิเศษ วันพุธ 13:00-16:00 น. หรือ ห้องตรวจอายุรกรรม 8:00-12:00 น.

  5. Services in the clinic( คลินิกสุขภาพพิเศษ ) Oct 1st ,06 – June 30th, 07 • HIV/AIDS cases in HIV Clinic…898.. . .cases • New ARV cases … 109… cases • Cumulative ARVcases …440… cases ( NAPHA, ปกส, เบิกได้, จ่ายเอง ) Sep 1st ,07 – Aug 31th ,08 • HIV/AIDS cases in HIV clinic …901… cases • New ARV cases …233…cases • Cumulative ARV cases …668.. Cases • ( NAP, ปกส, เบิกได้, จ่ายเอง )

  6. HIV/AIDS Performance measurment(PM) • HIVQUAL-T เป็นโปรแกรมที่ใช้ในการประเมินคุณภาพ การให้บริการดูแลรักษาผู้ป่วย HIV/AIDS ( Treatment and Care ) • ใช้ HIVQUAL-T ในการวัดผลการให้บริการด้านเอดส์ประจำปี • ตัวชี้วัดใน HIVQUAL-T สามารถนำมาเป็นแนวทางในการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ป่วย • โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์ดำเนินการวัดผลการให้บริการด้านเอดส์โดย HIVQUAL-T ในผู้ป่วยที่มารับบริการช่วงปี 2549 และ 2550

  7. HIV/AIDS Performance measurment (PM) HIVQUAL-T PM (for FY 2006) - Case list 942 cases - Sample size 90 cases Male 45 cases Female 45 cases HIVQUAL-T PM (for FY 2007) - Case list 984 cases - Sample size 139 cases Male 43 cases Female 86 cases

  8. ตัวชี้วัดหลัก 7 ข้อ HIVQUAL-T เป้าหมาย > 80% • การติดตาม CD4 • การป้องกันโรคฉวยโอกาสแบบปฐมภูมิ • การให้ยาต้านไวรัส – กินยาสม่ำเสมอ • การคัดกรองวัณโรค • การป้องกันการแพร่เชื้อ • การตรวจคัดกรองโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ • การตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในหญิงติดเชื้อ

  9. HIVQUAL-Tindicators (FY2007, FY2008) %

  10. Quality Improvement Plans/Activities : (FY2007, FY2008) • การติดตามเพิ่มประสิทธิภาพการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในหญิงที่ติดเชื้อ HIV / AIDS • โครงการส่งเสริมสุขภาพและติดตามการับประทานยาต้านไวรัสอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ (Adherence)

  11. การติดตามเพิ่มประสิทธิภาพการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในหญิงที่ติดเชื้อ HIV / AIDS วัตถุประสงค์ : ผู้หญิงที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี และเอดส์ ที่มารับบริการในคลินิกสุขภาพพิเศษ ร้อยละ 80 ได้รับการคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ในช่วง เดือนเมษายน 2551 – กันยายน 2551 ตัวชี้วัด : ผู้หญิงที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี และเอดส์ ที่มารับบริการในคลินิกสุขภาพพิเศษ ร้อยละ 80 ได้รับการคัดกรองมะเร็งปากมดลูก

  12. สรุปผลการดำเนินการโครงการ การติดตามเพิ่มประสิทธิภาพการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในหญิงที่ติดเชื้อ HIV / AIDS; ณ โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์ ตั้งแต่เดือน เมษายน – สิงหาคม 2551 1. จำนวนหญิงติดเชื้อเอช ไอวี และเอดส์ที่ได้รับการคัดกรองมะเร็งปากมดลูก จำนวน 86 คน 2. จำนวนหญิงติดเชื้อเอช ไอวี และเอดส์ที่ได้รับการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกที่ระดับต่างๆ ได้แก่

  13. โครงการส่งเสริมสุขภาพและติดตามการับประทานยาโครงการส่งเสริมสุขภาพและติดตามการับประทานยา ต้านไวรัสอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ (Adherence) วัตถุประสงค์ : เพื่อส่งเสริมการติดตามการรับประทานยาต้านไวรัสเอดส์อย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ ตัวชี้วัด : ผู้ที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี และเอดส์ ที่มารับบริการในคลินิกสุขภาพพิเศษร้อยละ 80 ได้รับการส่งเสริมสุขภาพและติดการรับประทานยาต้านไวรัสอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ

  14. สรุปผลการดำเนินการโครงการ ส่งเสริมสุขภาพและติดตาม การรับประทานยาต้านไวรัสต่อเนื่องและสม่ำเสมอ (Adherence) ตั้งแต่เดือน เมษายน – สิงหาคม 2551 1. จำนวนผู้ที่ติดเชื้อเอช ไอวีและผู้ป่วยเอดส์ที่ได้รับการส่งเสริมสุขภาพและติดตามการับประทานยา จำนวน 60 คน 2. ผู้ป่วยที่รับประทานยาต้านไวรัสอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอที่ระดับต่างๆ ได้แก่

  15. Lesson Learned • การทำงานเป็นทีมอย่างเป็นระบบ นำไปสู่การดูแลผู้ป่วยได้ ครอบคลุมทั้ง 5 ด้านตามมาตรฐานการดูแลผู้ป่วย เอช ไอ วี และเอดส์ • การใช้โปรแกรม HIVQUAL-T ในการวัดคุณภาพการดูแล รักษา สามารถนำไปใช้ในการวางแผนการพัฒนาคุณภาพ ของงาน

  16. ปัญหาอุปสรรคในการดำเนินงานทั้ง PM/QI ด้านบุคลากร 1. ขาดแคลนบุคลากรทั้งแพทย์ พยาบาล นักเทคนิคการแพทย์ 2. การประสานงานในทีมได้รับผิดชอบโดยตรง แหล่งข้อมูล ผู้ป่วยที่ติดเชื้อ เอช ไอ วีและเอดส์ที่ลงบันทึกข้อมูลในเวชระเบียน ไม่ครบถ้วน ทำให้มีปัญหาในการลงข้อมูลใน HIVQUAL-T

  17. ข้อเสนอแนะ  เพิ่มทีมบุคลากร ที่มีความสามารถและทำงานได้ เต็มเวลา

  18. HIV Coordinator nurse

  19. หน้าที่หลักของ HIV-Coodinator • ประสานงานกับหน่วยงานต่าง ๆ ทั้งภายในและภายนอกโรงพยาบาล • ติดตามและกำกับดูแลระบบการลงข้อมูลผู้ป่วย

  20. กลยุทธ์คงความยั่งยืนในการดูแลรักษาผู้ป่วยเอดส์กลยุทธ์คงความยั่งยืนในการดูแลรักษาผู้ป่วยเอดส์ • นำตัวชี้วัดของงานมาเป็นตัวชี้วัดในระดับกลุ่มงาน , รพ. และระดับสำนักการแพทย์ • แพทย์อายุรกรรมทุกคนมีส่วนร่วมในการดูแลรักษาผู้ป่วย • มีอายุรแพทย์โรคติดเชื้อเป็นที่ปรึกษาและกำกับดูแล • มีศูนย์ประสานงานสุขภาพพิเศษอายุรกรรม • มี HIV Coordinator nurse ( full time) • สนับสนุนการอบรมองค์ความรู้อย่างต่อเนื่อง • มีองค์กรสนับสนุนยาต้านไวรัสและการตรวจทางห้องปฏิบัติการ

  21. ห้องตรวจอายุรกรรม

  22. คลินิกสุขภาพพิเศษ

  23. ทีมพยาบาล ทีมแพทย์ ทีมเภสัชกร

  24. ทีมงานผู้ให้คำปรึกษา

  25. ทีม LAB

  26. ขอบคุณค่ะ

More Related