1 / 21

การดำเนินงาน อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน จังหวัดเชียงใหม่

การดำเนินงาน อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน จังหวัดเชียงใหม่. การดำเนินการของจังหวัด. 1. คัดเลือกอำเภอเป้าหมาย และอำเภอข้างเคียง อ.จอมทอง (เป้าหมาย) - รพ.สต.วังน้ำหยาด ต.แม่สอย รพ.สต.บ้านหนองห่าย ต.ข่วงเปา อ.ดอยหล่อ (ข้างเคียง) - รพ.สต.ดอนชัย ต.ยางคราม

placido
Download Presentation

การดำเนินงาน อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน จังหวัดเชียงใหม่

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การดำเนินงานอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืนจังหวัดเชียงใหม่การดำเนินงานอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืนจังหวัดเชียงใหม่

  2. การดำเนินการของจังหวัดการดำเนินการของจังหวัด 1. คัดเลือกอำเภอเป้าหมาย และอำเภอข้างเคียง • อ.จอมทอง (เป้าหมาย) - รพ.สต.วังน้ำหยาด ต.แม่สอย รพ.สต.บ้านหนองห่าย ต.ข่วงเปา • อ.ดอยหล่อ (ข้างเคียง) - รพ.สต.ดอนชัย ต.ยางคราม รพ.สต.ห้วยเปายง ต.ดอยหล่อ • อ.สันทราย (นำร่อง) * ทั้ง 3 แห่งได้รับการประเมินจาก สคร.10

  3. การดำเนินการของจังหวัดการดำเนินการของจังหวัด 2. จัดอบรม SRRT ตำบล 52 ตำบล ๆ ละ 5 คน เดือน มกราคม 2554 แบ่งจัด 3 สาย สายเหนือ สายกลาง สายใต้ (หลักสูตรสำนักระบาด 1 วัน)

  4. การดำเนินการของจังหวัดการดำเนินการของจังหวัด 3. ประชุมชี้แจงโครงการอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน กุมภาพันธ์ 2554 ให้กับเครือข่าย SRRT อำเภอ

  5. การดำเนินการของจังหวัดการดำเนินการของจังหวัด 4. ประชุมเครือข่าย SRRT ปี 2554 จำนวน 3 ครั้ง เพื่อพัฒนาศักยภาพทีม SRRT อำเภอ และเกิดระบบระบาดวิทยาที่ดี

  6. การดำเนินการของจังหวัดการดำเนินการของจังหวัด 5. นิเทศ ประเมิน อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็ง และมาตรฐาน SRRT มาตรฐาน SRRT ปี 2552 ประเมิน 6 แห่ง ผ่าน 2 แห่ง ไม่ผ่าน 4 แห่ง ปี 2553 ประเมิน 7 แห่ง ผ่าน 3 แห่ง ไม่ผ่าน 4 แห่ง ปี 2554 ประเมิน 5 แห่ง ผ่าน 2 แห่ง ไม่ผ่าน 3 แห่ง อำเภอเข้มแข็ง 7 แห่ง ผ่าน 4 แห่ง (อ.จอมทอง, อ.ดอยหล่อ, อ.สันทราย และ อ.แม่ออน) ไม่ผ่าน 3 แห่ง (อ.ดอยเต่า, อ.แม่แจ่ม และ อ.ดอยสะเก็ด)

  7. การดำเนินการของจังหวัดการดำเนินการของจังหวัด 6. ชี้แจงงานอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ให้ผู้บริหารในการประชุม กวป. 3 ครั้ง

  8. ผลการประเมิน คุณลักษณะ อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็ง จ.เชียงใหม่

  9. ผลการประเมิน คุณลักษณะ อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็ง จ.เชียงใหม่

  10. วิเคราะห์การดำเนินงานคุณลักษณะที่ 1 (ผ่านร้อยละ 56): มีคณะกรรมการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ • ข้อที่ผ่านน้อยที่สุด ได้แก่ • มีรายงานคณะกรรมการอย่างน้อย 4 ครั้ง • มีการติดตามผลอย่างน้อย 4 ครั้ง • รองลงมาได้แก่ • มีรายงานวิเคราะห์สถานการณ์ กำหนดแนวทางแก้ไข และมอบหมายผู้รับผิดชอบดำเนินการอย่างน้อย 4 ครั้ง • มีรายงานวิเคราะห์สถานการณ์ อย่างน้อย 4 ครั้ง * เนื่องจากโครงการเริ่มดำเนินการช้า คณะกรรมการยังไม่เข้าใจชัดเจนในแนวคิด บางอำเภอใช้ประชุมหัวหน้าส่วนแทน

  11. วิเคราะห์การดำเนินงานคุณลักษณะที่ 2 (ผ่านร้อยละ 92): มีระบบระบาดวิทยาในระดับอำเภอที่ดี • ข้อที่ผ่านน้อยที่สุด ได้แก่ • ห้อง Lab โรงพยาบาลสามารถเพาะเชื้อแบคทีเรียจากอุจจาระ • ห้อง Lab แจ้งเหตุสงสัยโรคระบาดหรือความผิดปกติให้ SRRT อย่างน้อยปีละ 1 เหตุการณ์ • รองลงมาได้แก่ • SRRT ตำบลได้การตรวจสอบหรือแจ้งเหตุสงสัยการระบาดอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง • SRRT ตำบล อย่างน้อยร้อยละ 50 ได้รับงบประมาณ ยานพาหนะ หรือ สิ่งสนับสนุน

  12. วิเคราะห์การดำเนินงานคุณลักษณะที่ 3 (ผ่านร้อยละ 72): มีการวางแผนป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ • ข้อที่ผ่านน้อยที่สุด ได้แก่ • มีรายงานผลการปฏิบัติงานตามแผน เพื่อติดตาม กำกับ อย่างน้อย 2 ครั้ง/ปี • มีการซ้อมแผนรับการควบคุมโรค/ภัยฉุกเฉิน ทางด้านสาธารณสุข อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง • รองลงมาได้แก่ • มีแผนปฏิบัติการรองรับการควบคุมโรค/ภัยฉุกเฉินทางด้านสาธารณสุข * ความเข้าใจ รูปแบบ การจัดทำแผนแต่ละอย่างว่าเป็นอย่างไร แตกต่างกันอย่างไร - แผนป้องกันควบคุมโรคที่เป็นปัญหา/นโยบาย - แผนรองรับการควบคุมโรคและภัยฉุกเฉินทางด้านสาธารณสุข

  13. วิเคราะห์การดำเนินงานคุณลักษณะที่ 4 (ผ่านร้อยละ 80): มีการระดมทรัพยากร หรือการสนับสนุนงบประมาณ จากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องอย่างเป็นรูปธรรม • ข้อที่ผ่านน้อยที่สุด ได้แก่ • หน่วยงานอื่น เช่น องค์กรเอกชน วัด ประชาชน จัดสรรทรัพยากร/งบประมาณ • รองลงมาได้แก่ • มีระบบการบริหารจัดการทรัพยากรสำหรับการป้องกันควบคุมโรคที่สามารถตรวจสอบได้ เช่น ระบบบัญชี การเงิน ระบบการรับจ่ายวัสดุ ครุภัณฑ์

  14. วิเคราะห์การดำเนินงานคุณลักษณะที่ 5 (ผ่านร้อยละ 40): มีผลสำเร็จของการควบคุมป้องกันโรคตามนโยบายกระทรวง สาธารณสุข และปัญหาโรคในพื้นที่ อย่างละ 1 เรื่อง • โรคนโยบาย • ส่วนใหญ่เลือกโรคไข้เลือดออก รองลงมาเลือกโรควัณโรค และโรคเอดส์ • บางอำเภอเลือกโรคไข้หวัดใหญ่ ซึ่งไม่ได้เป็นโรคที่กำหนด • โรคปัญหาในพื้นที่ • ส่วนใหญ่เลือกโรคไข้เลือดออก บางแห่งเลือกซ้ำ รองลงมาเลือกโรควัณโรค อาหารเป็นพิษ/อุจจาระร่วง เอดส์ มาลาเรีย • บางแห่งเลือกโรคที่กระทรวงไม่ได้กำหนดตัวชี้วัด เช่น Strep Suis ความดันโลหิตสูง * บางอำเภอมีปัญหาไม่คีย์คะแนน และไม่เขียนอธิบาย * คะแนนรวม 5 คะแนน แบ่งย่อยเป็น 1, 1.5 อำเภอ ที่ประเมินตนเองต่ำ เช่น 0.5, 0.25 จะรวมได้ ไม่ถึง 4 (80%)

  15. ปัญหา อุปสรรค 1. สสอ.ซึ่งควรจะเป็นแกนหลักในการดำเนินงานอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ยังไม่ได้ให้ความสำคัญเท่าที่ควร และไม่ได้มีการอัดฉีดงบประมาณลงไปที่ สสอ. 2. ในการประชุมคณะกรรมการฯ เป็นการระดมความคิดเห็น/การมีส่วนร่วมในการแก้ปัญหาสุขภาพจากทุกภาคส่วน ซึ่งแตกต่างจากการประชุมหัวหน้าส่วนทั่วไป 3. ปัญหารูปแบบ วิธีการจัดทำ แผนของพื้นที่ ควรเป็นแบบใด ควรสามารถปฏิบัติได้จริง ส่วนการประเมินผล ติดตามและรายงาน ทำอย่างไรจะไม่ให้เป็นภาระต่อผู้ปฏิบัติมากเกินไป

  16. ปัญหา อุปสรรค (ต่อ) 4. การรายงานโรค/เหตุการณ์การระบาดโดย SRRT ตำบล หรือรพ.สต. ผ่านอินเตอร์เน็ตมีน้อย อาจเป็นเพราะไม่มีเหตุการณ์ผิดปกติ ที่ตรวจจับได้ที่ตำบล หรือไม่คุ้นชินกับการรายงานจากตำบลไปสู่ส่วนกลางโดยตรง ผ่านระบบอินเตอร์เน็ต 5. โรคปัญหาในพื้นที่ที่อำเภอเลือก และกระทรวงไม่ได้กำหนดตัวชี้วัดเป็นปัญหาในการให้คะแนน 6. การอบรม SRRT ตำบล ให้ครบทุกตำบลยังทำไม่ได้ เนื่องจากเชียงใหม่ให้อำเภอดำเนินการเอง โดยใช้งบประมาณของพื้นที่ จึงมีบางอำเภอที่ดำเนินการต่อได้ (จอมทอง ดอยหล่อ แม่ออน เมือง แม่แตง หางดง ฝาง สันกำแพง)

  17. ข้อเสนอแนะ 1. การคีย์ข้อมูลประเมินตนเอง ผ่านระบบอินเตอร์เน็ต ดี ง่าย สะดวก รวดเร็ว อาจมี Bais บ้าง ควรเริ่มรอบ 1 ให้เร็ว และควรมีการสุ่มประเมินบางอำเภอ 2. ควรจัดสรรงบประมาณให้ สสอ. ทุกแห่งในการบริหารจัดการขับเคลื่อนโครงการ และการอบรมเครือข่าย SRRT ตำบล ให้ครอบคลุมทุกตำบล/หมู่บ้าน

  18. ข้อเสนอแนะ (ต่อ) 3. ควรมีรูปแบบการจัดทำแผน ทั้งแผนป้องกันควบคุมโรคที่เป็นปัญหา/นโยบาย และแผนรองรับการควบคุมโรค และภัยฉุกเฉินทางด้านสาธารณสุข 4. ให้ สคร. หรือจังหวัดคิดเกณฑ์/ตัวชี้วัด โรคที่กระทรวงไม่ได้กำหนด 5. ควรเพิ่มคะแนนตัวชี้วัดความสำเร็จให้มากขึ้น

  19. การดำเนินงานอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืนจังหวัดเชียงใหม่ ปี 2555 1. “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เป็นตัวชี้วัดคำรับรองการปฏิบัติราชการ ปีงบประมาณ 2555 ของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ ที่ทำกับ ผู้ว่าราชการจังหวัดเชียงใหม่ 2. จัดตั้งคณะทำงาน อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งของจังหวัด ประกอบด้วย หน่วยงานภายใน สสอ. และหน่วยงานภายนอก ได้แก่ อบจ. ตัวแทน สมัชชาสุขภาพภาคประชาชน

  20. การดำเนินงานอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืนจังหวัดเชียงใหม่ ปี 2555 (ต่อ) 3. ติดตามการดำเนินงาน ปัญหา อุปสรรค ในทุกอำเภอ โดยแบ่งชุดคณะทำงานเป็น 3 ทีม 4. ประชุมชี้แจงเครือข่าย ผลการดำเนินงาน ปัญหาอุปสรรคในปี 2554 และแนวทางปี 2555 5. ส่งเสริมการดำเนินงานในระดับตำบล/หมู่บ้าน การเฝ้าระวังโรค การตรวจจับเหตุการณ์ผิดปกติ เน้น อสม.เชี่ยวชาญด้านการเฝ้าระวังโรค สอบสวนควบคุมโรค

  21. สวัสดีค่ะ

More Related