1 / 49

แนวทาง และมาตรการในการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไข้เลือดออก

แนวทาง และมาตรการในการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไข้เลือดออก. นาง มนัสนันท์ ลิมปวิ ทยากุล รองผู้อำนวยการสำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 จังหวัดอุบลราชธานี. จุดมุ่งหมาย. วัตถุประสงค์ เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกให้น้อยกว่าปี 2554 เพื่อให้อัตราตายด้วยโรคไข้เลือดออกไม่เกินร้อยละ 0.1 2

oren
Download Presentation

แนวทาง และมาตรการในการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไข้เลือดออก

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. แนวทางและมาตรการในการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไข้เลือดออก นางมนัสนันท์ลิมปวิทยากุล รองผู้อำนวยการสำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 จังหวัดอุบลราชธานี

  2. จุดมุ่งหมาย • วัตถุประสงค์ • เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกให้น้อยกว่าปี 2554 • เพื่อให้อัตราตายด้วยโรคไข้เลือดออกไม่เกินร้อยละ 0.12 • เป้าหมาย • เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกไม่น้อยกว่าร้อยละ 25 ของค่ามัธยฐาน ของประเทศ 5 ปี ย้อนหลัง • เพื่อให้อัตราตายด้วยโรคไข้เลือดออกไม่เกินร้อยละ 0.12 • ค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายในครัวเรือน รพ. ไม่เกินค่ามาตรฐาน (HI ≤ 10, CI = 0) • ควบคุมการระบาดอย่างมีประสิทธิภาพ

  3. การเตรียมความพร้อมรับมือปัญหาไข้เลือดออกการเตรียมความพร้อมรับมือปัญหาไข้เลือดออก ก่อนระบาด ช่วงระบาด มาตรการรับมือ รักษา ควบคุม หลังระบาด • มาตรการป้องกัน • เตรียมความพร้อมควบคุมและ รักษาโรค • มาตรการป้องกัน • มาตรการเฝ้าระวัง • ถอดบทเรียน

  4. ก่อนระบาด • มาตรการป้องกัน เพื่อตัดวงจรการแพร่เชื้อไวรัสในหน้าแล้ง • กลยุทธ์หลัก : เพื่อลดปัจจัยเสี่ยง => ลูกน้ำยุงลาย • ระยะที่ 1 (Phase 1) ที่สำคัญที่สุดในการควบคุมไข้เลือดออก ตั้งแต่ปลายปีถึงต้นปี (เดือน ตุลาคม - มีนาคม ) รวม 6 เดือน คือ การลดโรคไข้เลือดออกให้น้อยที่สุด หากเกิดการระบาดแล้วการควบคุมจะทำได้ยากและสูญเสียงบประมาณเพิ่มมากขึ้น • ขั้นที่ 1. วิเคราะห์ต้นตอการระบาดสืบค้นแหล่งรังโรคและพื้นที่เสี่ยงต่อ การระบาดของโรคไข้เลือดออก เพื่อเพิ่มความเข้มแข็งในการจัดการ

  5. ก่อนระบาด ขั้นที่ 2กำจัดศักยภาพของแหล่งแพร่โรค • กำจัดภาชนะเสี่ยงสำคัญ • จัดการแหล่งเพาะพันธุ์ • กวาดล้างลูกน้ำยุงลายให้ลดลงต่ำที่สุด HI ~ 0 , CI = 0 ขั้นที่ 3ระงับการแพร่เชื้อ • เฝ้าระวังไข้ ค้นหาผู้ป่วย ส่งตรวจวินิจฉัย และควบคุมพาหะ • ป้องกันยุงกัด

  6. ก่อนระบาด • กิจกรรมทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ • สุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมทุกชุมชน โรงเรียน(ประชาชน นักเรียนทำ, อปท, โรงเรียน, จนท.สธ รณรงค์ สนับสนุน) • กิจกรรมทำลายลูกน้ำยุงลาย • เปลี่ยนถ่ายน้ำในภาชนะที่สามารถเป็นแหล่งเพาะพันธุ์ทุกสัปดาห์ (ประชาชน นักเรียน, อปท, โรงเรียน, จนท.สธ รณรงค์ สนับสนุน) • ใช้ทรายอะเบท (อสม. ครูอาจารย์แจกจ่าย กำกับ อปท, จนท.สธ รณรงค์ สนับสนุน)

  7. แหล่งเพาะพันธุ์ แหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย แบ่งเป็น 6 ประเภท ได้แก่ แหล่งน้ำขังภายในบ้าน • ตุ่มน้ำขังภายในบ้าน • จานรองตู้กันมด • ภาชนะขังน้ำอื่น ๆ บ่อคอนกรีตในห้องน้ำ แจกันดอกไม้ จานรองกระถางต้นไม้ หน่วยวิจัยยุงลาย (Aedes Research unit หรือ ARU) ของ WHO

  8. สำรวจภาชนะขังน้ำทุกชนิดและทุกชิ้นสำรวจภาชนะขังน้ำทุกชนิดและทุกชิ้น

  9. แหล่งเพาะพันธุ์ แหล่งน้ำขังภายนอกบ้าน • ตุ่มน้ำขังภายนอกบ้าน • แหล่งขังน้ำอื่น ๆ อ่างคอนกรีตล้างเท้า กระป๋อง ไหแตก ถ้วยแตก แจกันศาลพระภูมิ ภาชนะใส่น้ำเลี้ยงสัตว์ รางน้ำฝน ยางรถยนต์ • ภาชนะธรรมชาติ โพรงไม้ กะลา กาบใบไม้ กระบอกไม้ไผ่

  10. การสำรวจแหล่งเพาะพันธุ์การสำรวจแหล่งเพาะพันธุ์

  11. ก่อนระบาด กลยุทธ์รอง 1: เพื่อลดปัจจัยเสี่ยง => ยุงลายตัวเต็มวัย • กิจกรรมทำลายยุงลายเฉพาะสถานที่เสี่ยง =>ศูนย์เด็กเล็ก, โรงเรียน, โรงพยาบาล • พ่นสารเคมีกำจัดยุงลายก่อนเปิดเทอม กลยุทธ์รอง 2: เพื่อลดปัจจัยเสี่ยง => การถูกยุงลายกัด • การใช้น้ำมันตะไคร้หอม, ยาทากันยุง

  12. วัตถุประสงค์ของการควบคุมวัตถุประสงค์ของการควบคุม • ลดประชากรพาหะ • ลดอายุขัยพาหะ • ลดการสัมผัสระหว่างยุงพาหะกับคน • ลดการแพร่เชื้อโรค

  13. การควบคุมกำจัดยุงพาหะนำโรคการควบคุมกำจัดยุงพาหะนำโรค วิธีกล สิ่งมีชีวิต สารเคมี

  14. การป้องกันตนเอง • นอนกางมุ้ง/ติดมุ้งลวด • ใช้ยาจุดกันยุง/ทากันยุง

  15. ก่อนระบาด • เตรียมความพร้อม • ระบบ • เฝ้าระวัง • ดัชนีลูกน้ำยุงลาย • ผู้ป่วย • เตือนภัย • แจ้งเตือนพื้นที่ที่มีดัชนีลูกน้ำยุงลายสูง • แจ้งเมื่อมีผู้ป่วยเกิดขึ้นให้ ผู้บริหารระดับอำเภอ จนท.สธ พื้นที่ อปท ทราบ ทันที • แจ้งเมื่อมีผู้ป่วยเกิดขึ้นให้ SRRT ออกปฏิบัติการควบคุมโรคภายใน 24 ชม. ระบบ คน ของ เฝ้าระวัง เตือนภัย รักษาโรค ควบคุมโรค

  16. ก่อนระบาด • เตรียมความพร้อมควบคุมและ รักษาโรค • ระบบ • ควบคุมโรค • พัฒนาศักยภาพ SRRT • พัฒนาแนวทางการควบคุมโรคที่เป็นระบบ รวดเร็ว ชัดเจน • กรณีสงสัย • กรณีแพทย์วินิจฉัย • กำหนดการใช้ ICS ในไข้เลือดออก • การฝึกซ้อมแผนควบคุมโรคที่รวดเร็ว มีประสิทธิภาพ ระบบ คน ของ

  17. ก่อนระบาด • เตรียมความพร้อมควบคุมและ รักษาโรค • ระบบ • การรักษาโรค • พัฒนาCPG ทั้งระดับ รพ.สต. และ รพ.ช. • Criteria การวินิจฉัย และแนวทางปฏิบัติที่รพ.สต. • Criteria การวินิจฉัย และแนวทางปฏิบัติที่รพ.ช. • ระบบรายงานของฝ่ายรักษา • แนวการการConsultation • แนวทางการส่งต่อ ระบบ คน ของ

  18. ก่อนระบาด • เตรียมความพร้อมควบคุมและ รักษาโรค • คน • ประชาชน • ประชุมชาวบ้าน • หอกระจายข่าว • อสม. • พื้นฟูความรู้ ความเข้าใจประจำปี • แนวทางการปฏิบัติงานโรคไข้เลือดออก ระบบ คน ของ

  19. ก่อนระบาด • เตรียมความพร้อมควบคุมและ รักษาโรค • คน • อปท. • นำเสนอข้อมูลเพื่อขอการสนับสนุน และความร่วมมือและหาแนวทางร่วมกัน • ให้ความร่วมมือกิจกรรมที่ อปท.จัด/สร้างเครือข่าย • ครู อาจารย์ นักเรียน • นำเสนอข้อมูลเพื่อขอความร่วมมือ และหาแนวทางร่วมกัน • กิจกรรมป้องกันในโรงเรียน • การเรียนการสอนเรื่องไข้เลือดออกให้นักเรียน ระบบ ของ คน

  20. ก่อนระบาด • เตรียมความพร้อมควบคุมและ รักษาโรค • คน • จนท.สธ. • นโยบายประเทศ • นโยบายจังหวัด • นโยบายอำเภอ • แนวทางปฏิบัติของอำเภอที่ตกลงร่วมกันเป็นลายลักษณ์อักษรที่ชัดเจน • ความรู้ ทักษะ ระบบ คน ของ

  21. ก่อนระบาด • เตรียมความพร้อมควบคุมและ รักษาโรค • ของ • เครื่องพ่น • สารเคมี • ทราย • น้ำมันตะไคร้หอม • ยาทากันยุง • ชุดปฏิบัติการพ่นสารเคมี • เวชภัณฑ์ • ยานพาหนะ ระบบ คน ของ

  22. ช่วงระบาด ระยะที่ 2(Phase 2) ตั้งแต่เดือนเมษายน – พฤษภาคม เป็นการป้องกันโรค โดยการเร่งรัดในการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายในชุมชน โรงเรียน สถานบริการสาธารณสุข/โรงพยาบาล วัด มัสยิด แหล่งท่องเที่ยว • มาตรการรับมือ • รักษา • ควบคุม

  23. ช่วงระบาด • ระบบการรายงาน ที่รวดเร็ว (ภายใน 24 ชั่วโมง) • ความทันเวลาในการควบคุมโรค (ภายใน 24 ชั่วโมง) • มาตรฐานการควบคุมโรคไข้เลือดออกในพื้นที่

  24. ช่วงระบาด เพื่อให้โรคไข้เลือดออกสงบโดยเร็วที่สุด ไม่ให้ระบาดติดต่อ ไปยังชุมชนอื่น • การเฝ้าระวังโรค (Disease Surveillance) ที่รวดเร็ว ถูกต้อง และครบถ้วน • การเฝ้าระวังทางกีฏวิทยา (Vector Surveillance) สำรวจค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย ติดตามการเปลี่ยนแปลงประเภทแหล่งเพาะพันธุ์ที่สำคัญ • การเฝ้าระวังเกี่ยวกับผู้ป่วยและเชื้อ โดยศึกษาแนวโน้มของโรค ชนิดของ serotype

  25. การศึกษา การเฝ้าระวังเชื้อไวรัสเดงกี่ในยุงพาหะ และชนิดของ serotype เพื่อศึกษาแนวโน้มของความรุนแรงต่อการเกิดโรค ในพื้นที่จังหวัดอุบลราชธานี พบว่า

  26. ไวรัสเดงกี่ชนิดที่ 1 คิดเป็นร้อยละ 83.72 ไวรัสเดงกี่ชนิดที่ 3 คิดเป็นร้อยละ 6.98 ไวรัสเดงกี่ชนิดที่ 4 คิดเป็นร้อยละ 9.30

  27. แผนภูมิที่ 2ร้อยละของเชื้อไวรัสเดงกี่แต่ละระยะของยุงลายที่พบเชื้อพื้นที่อำเภอ วารินชำราบ ตระการพืชผล และเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี

  28. ช่วงระบาด • เมื่อมีผู้ป่วยสงสัย • Criteria การวินิจฉัย และแนวทางปฏิบัติที่ รพ.ช. • CPG • ระบบรายงาน • ต้องรายงานหรือไม่ • ถ้าต้องรายงานจะรายงานใคร อย่างไร • การควบคุมโรค • ต้องควบคุมหรือไม่ อย่างไร

  29. ช่วงระบาด • เมื่อมีผู้ป่วยที่แพทย์วินิจฉัย • CPG • ระบบรายงาน • ระบบควบคุมโรค • SRRT ออกควบคุมโรค ภายใน 24 ชม • กำจัดยุงลายตัวเต็มวัย

  30. ช่วงระบาด • เมื่อมีผู้ป่วยที่แพทย์วินิจฉัย • ระบบควบคุมโรค • SRRT ออกควบคุมโรค ภายใน 24 ชม • กำจัดยุงลายตัวเต็มวัย • กำจัดลูกน้ำยุงลาย • มาตรการป้องกันยุงลายกัด • สอบสวนโรค • ถ้าสามารถควบคุมโรคไม่ให้มี Gen 2 => ถือว่าประสบความสำเร็จ

  31. ช่วงระบาด • เมื่อมีผู้ป่วยที่แพทย์วินิจฉัย • ระบบควบคุมโรค • SRRT ออกควบคุมโรค ภายใน 24 ชม • กำจัดยุงลายตัวเต็มวัย • สำรวจยุงลายตัวเต็มวัย 1 วันหลังพ่น ถ้ายังพบ แสดงว่าการพ่นไม่มีประสิทธิภาพ • วิธีการพ่น • เครื่องพ่น • สารเคมี • สามรถขอความช่วยเหลือจาก ศตม.ในพื้นที่รับผิดชอบได้

  32. แนวทางปฏิบัติช่วงระบาดแนวทางปฏิบัติช่วงระบาด 1.ประกาศเตือนประชาชนให้ทราบว่ามีโรคไข้เลือดออกระบาดในชุมชน พร้อมกับ • ให้สุขศึกษาแก่ประชาชน ให้รู้จักวิธีการป้องกันตนเอง ให้ความรู้วิธีปฏิบัติเมื่อเด็กป่วยหรือสงสัยว่าป่วยเป็นโรคไข้เลือดออก และวิธีการควบคุมแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในบ้าน และขอให้ประชาชนให้ความร่วมมือกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายที่อาจมีหลงเหลืออยู่ในชุมชนให้หมดไป • กำจัดลูกน้ำยุงลายในบ้านผู้ป่วย และบริเวณรอบบ้านผู้ป่วยควรดำเนินการในรัศมีอย่างน้อย 100 เมตร และประเมินค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายในพื้นที่ที่เกิดโรคหลังการควบคุม ควรมีค่า HI  10

  33. แนวทางปฏิบัติช่วงระบาดแนวทางปฏิบัติช่วงระบาด 2.ใช้มาตรการเร่งด่วน คือ การพ่นเคมีกำจัดยุงตัวเต็มวัย เพื่อควบคุมการ ระบาด วิธีการนี้จะลดจำนวนยุงลายที่มีเชื้อไข้เลือดออกในชุมชน โดยสามารถ ควบคุมแหล่งแพร่โรคภายใน 24 ชั่วโมง • หากเกิดมีผู้ป่วย ควรดำเนินการควบคุมแหล่งแพร่โรค (หมู่บ้านหรือชุมชน) โดยพ่นสารเคมีในบ้านผู้ป่วย และพื้นที่รอบบ้านผู้ป่วยในรัศมีอย่างน้อย 100 เมตร ควรพ่นอย่างน้อย 2 ครั้งแต่ละครั้งห่างกัน 7 วัน • หากเกิดมีผู้ป่วยกระจายทั่วไปในชุมชนหรือหมู่บ้าน ควรพ่นทุกหลังคาเรือนในชุมชน และหากมีหมู่บ้านอื่นอยู่ข้างเคียง ก็ควรพิจารณาพ่นเคมีเพิ่มเติมให้แก่หมู่บ้านที่อยู่ใกล้เคียงนั้นด้วย

  34. แนวทางปฏิบัติช่วงระบาดแนวทางปฏิบัติช่วงระบาด 3. รายงานโรคไข้เลือดออก (DF/DHF/DSS) ทั้งรายที่สงสัยและที่ได้รับการยืนยันทันที เพื่อการควบคุมโรค 4. พัฒนาทีมเฝ้าระวังและควบคุมโรคระดับอำเภอ ให้สามารถดำเนินการควบคุมโรคอย่างถูกต้องตามหลักวิชาการและทันเวลา 5. ให้สถานพยาบาลทุกแห่ง เตรียมพร้อมทั้งบุคลากรและอุปกรณ์ที่จำเป็นในการรักษาโรคไข้เลือดออก เพื่อรองรับการระบาด 6. ประสานความร่วมมือและพัฒนาศักยภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและเครือข่ายในชุมชน เช่น อาสาสมัครสาธารณสุข ให้มีส่วนร่วมในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกอย่างต่อเนื่อง

  35. หลังระบาด ระยะที่ 3(Phase 3) ตั้งแต้เดือนมิถุนายน– กันยายน เป็นช่วงที่ต้องมีควบคุมการระบาดของโรคให้เกิดน้อยที่สุด (น้อยกว่าค่า Target line) ต้องระงับการแพร่เชื้อ เฝ้าระวังโรค ค้นหาผู้ป่วย ส่งตรวจวินิจฉัย และควบคุมยุงพาหะ • มาตรการป้องกัน • มาตรการเฝ้าระวัง • ถอดบทเรียน

  36. หลังระบาด • ระบบการรายงาน ที่รวดเร็ว • การสอบสวนโรค • ความทันเวลาในการควบคุมโรค • มาตรฐานการควบคุมโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ -ประเมินผลการดำเนินงานได้แก่ การประเมินค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย -การประเมินประสิทธิภาพของการควบคุมโรคระดับอำเภอ ไม่พบผู้ป่วย Gen 2

  37. จุดเน้นการดำเนินงานของกรมควบคุมโรค ปี 2556 มาตรการที่ 1อำเภอเข้มแข็งป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก มาตรการที่ 2สร้างความตระหนักให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการป้องกัน ควบคุมโรคไข้เลือดออก มาตรการที่ 3พัฒนาข่าวกรอง พยากรณ์และเตือนภัยโรคไข้เลือดออก มาตรการที่ 4พัฒนากลไกและขั้นตอนการเตรียมความพร้อมตอบโต้ภาวะ ฉุกเฉินโรคติดต่อนำโดยแมลง มาตรการที่ 5พัฒนาองค์ความรู้/เทคโนโลยีที่ทันสมัยในการเฝ้าระวังป้องกัน ควบคุมโรคไข้เลือดออก มาตรการที่ 6พัฒนาศูนย์ความเป็นเลิศทางวิชาการโรคติดต่อนำโดยแมลง

  38. อำเภอเข้มแข็งป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกอำเภอเข้มแข็งป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก กิจกรรมที่ 1 สนับสนุน พัฒนาเครือข่ายระดับตำบลในการจัดการพาหะนำโรค แบบผสมผสาน (IVM) กิจกรรมที่ 2สนับสนุน พัฒนาเครือข่ายผู้ประกอบการในแหล่งท่องเที่ยว ปลอดลูกน้ำ กิจกรรมที่ 3สนับสนุนพัฒนาการมีส่วนร่วมของชุมชนแบบยั่งยืน (PAR) กิจกรรมที่ 4เครือข่ายระดับท้องถิ่นนำ พรบ.สาธารณสุขมาใช้ลดแหล่ง เพาะพันธุ์พาหะนำโรคไข้เลือดออก กิจกรรมที่ 5เร่งรัดอำเภอดำเนินงานเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก (สุ่มสำรวจค่าดัชนีลูกน้ำ 3 รอบ ก.พ. พ.ค. ส.ค.)

  39. รายชื่อพื้นที่ดำเนินการรายชื่อพื้นที่ดำเนินการ

  40. รายชื่อพื้นที่ดำเนินการรายชื่อพื้นที่ดำเนินการ

  41. รายชื่อพื้นที่ดำเนินการรายชื่อพื้นที่ดำเนินการ

  42. รายชื่อพื้นที่ดำเนินการรายชื่อพื้นที่ดำเนินการ

  43. รายชื่อพื้นที่ดำเนินการรายชื่อพื้นที่ดำเนินการ

  44. รายชื่อพื้นที่ดำเนินการรายชื่อพื้นที่ดำเนินการ

  45. รายชื่อพื้นที่ดำเนินการรายชื่อพื้นที่ดำเนินการ

  46. สามารถปรับรายชื่อพื้นที่ดำเนินการได้สามารถปรับรายชื่อพื้นที่ดำเนินการได้ E-mail dpc7pher@gmail.com โทร 045-250557

  47. ขอบคุณค่ะ กลุ่มปฏิบัติการควบคุมโรคและตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางด้านสาธารณสุข สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 อุบลราชธานี

More Related