1 / 38

Basic Mendelian genetics applied to livestock

Basic Mendelian genetics applied to livestock. Asst.Prof.Dr.Wuttigrai Boonkum Department of Animal Science Khon Kaen University. What is genetics ?. “Genetics is the study of  heredity, the  process in which  parents pass certain  genes onto their  offspring.”

oliana
Download Presentation

Basic Mendelian genetics applied to livestock

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Basic Mendelian genetics applied to livestock Asst.Prof.Dr.WuttigraiBoonkum Department of Animal Science KhonKaen University

  2. What is genetics ? • “Genetics is the study of heredity, the process in which parentspass certain genes onto their offspring.” • Offspring inherit their biological  parents’ genes that express specific  traits, such as some physical  characteristics, natural talents, and  genetic disorders.

  3. What is genetics ? Watson and Crick (found in April, 1953)

  4. Genetic concepts • Heredity describes how some traits are  passed from parents to their offspring. • The traits are expressed by genes, which are  small sections of DNA that are coded for  specific traits.  • Genes are found on chromosomes.  • Humans have two sets of 23 chromosomes—one set from each parent. 

  5. Mendelian Inheritance • The inherited traits are determined by  genes that are passed from parents to  offspring. • A offspring inherits two sets of genes one from each parent.  •  A trait may not be observable, but its  gene can be passed to the next generation.

  6. Example number of chromosome in animal

  7. Classical (Mendelian) Genetics • Principles of genetics were developed in the mid 19th century by Gregor Mendel an Austrian Monk • Developed these principles without ANY scientific equipment - only his mind. • Experimented with pea plants, by crossing various strains and observing the characteristics of their offspring. • Studied the following characteristics: • Pea color (Green, yellow) • Pea shape (round, wrinkled) • Flower color (purple, white) • Plant height (tall, short) • Made the following observations (example given is pea shape) • When he crossed a round pea and wrinkled pea, the offspring (F1 gen.) always had round peas. • When he crossed these F1 plants, however, he would get offspring which produced round and wrinkled peas in a 3:1 ratio.

  8. Laws of Inheritance • Law of Segregation: When gametes (sperm egg etc…) are formed each gamete will receive one allele or the other. • Law of independent assortment: Two or more alleles will separate independently of each other when gametes are formed

  9. A A A a a a Law of segregation (กฏการแยกตัวของยีน) • คู่ของยีนจะมีการแยกออกจากกันเมื่อสัตว์มีการสร้างเซลล์สืบพันธุ์ และจะเข้าคู่กันอีกครั้งอย่างอิสระเมื่อมีการผสมพันธุ์เป็น zygote (นิยมพูดถึงยีน 1 คู่) ชื่อเรียกอื่น : • Mendel’s 1st Law • 1st Law of Genetics • Law of random assortment of genes • Law of segregation and recombination

  10. Law of segregation Segregation of genes Recombination of genes Inter se mating

  11. Six basic genotype crosses เมื่อผสมพันธุ์สัตว์ที่มี genotype homozygous x homozygous ได้ลูกที่มี genotype แบบเดียว homozygous x heterozygousได้ลูกที่มี genotype 2 แบบ ½ : ½ heterozygous x heterozygousได้ลูกที่มี genotype ครบทุกแบบ

  12. Law of independent assortment (กฎการรวมตัวอย่างอิสระของยีน) ยีนแต่ละตำแหน่งจะสามารถแยกไปกับอีกยีนหนึ่งได้อย่างอิสระเมื่อมีการสร้างเซลลสืบพันธุ์ และมีโอกาสมาเข้าคู่กันได้ใหม่อย่างอิสระด้วยเมื่อมีการผสมพันธุ์เป็น zygote กล่าวคือ ยีนแต่ละตำแหน่งจะสามารถเกิดกฎการแยกตัว (Law of segregation) ได้อย่างอิสระนั่นเอง กฎนี้กล่าวถึงยีนตั้งแต่ 2 คู่หรือ 2 ตำแหน่ง และควบคุมตั้งแต่ 2 ลักษณะขึ้นไป โดยแต่ละลักษณะนั้นแสดงออกอย่างอิสระต่อกัน ชื่อเรียกอื่น : • Mendel’s 2nd Law • 2nd Law of Genetics • Law of Random Assortment of Characters

  13. Law of independent assortment (กฎการรวมตัวอย่างอิสระของยีน) Dihybrid Cross การผสมพันธุ์ระหว่างคู่ heterozygous genotype ของลักษณะที่ถูกควบคุมด้วยยีน 2 คู่ ในการคำนวณหา genotype และ phenotype ที่เกิดจากการผสมของยีนหลายตำแหน่ง สามารถทำได้ 3 วิธี ได้แก่ • Punnett Square Method • Algebraic Method • Branch or Forked-line Method

  14. Example dominant and recessive genes in animal

  15. Sex and Color inheritance 1. Sex-Linked Traits ยีนมีตำแหน่งอยู่บนโครโมโซมเพศโดยตรง ดังนั้นการกำหนดเพศของสัตว์ (sex determination) จึงมีผลต่อการแสดงออกของยีน

  16. Sex and Color inheritance 1. Sex-Linked Traits Sex-linked ในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม

  17. ตัวอย่างลักษณะที่แสดงออกแบบ sex-linked ในสัตว์

  18. Sex and Color inheritance 2. Sex-Influenced Traits ยีนมีตำแหน่งอยู่บนออโตโซม หากสัตว์มี genotype แบบ dominant หรือ recessive homozygous ก็จะแสดงออกเหมือนกันทั้งสองเพศ แต่จะควบคุมให้มีการแสดงออกในเพศแตกต่างกัน หากสัตว์มี genotype เป็นแบบ heterozygous

  19. ตัวอย่างลักษณะที่แสดงออกแบบ sex-influenced ในสัตว์ที่เป็น heterozygous

  20. Sex and Color inheritance 3. Sex-Limited Traits ยีนมีตำแหน่งอยู่บนออโตโซม แต่จะสามารถควบคุมให้มีการแสดงออกได้เฉพาะในเพศใดเพศหนึ่งเท่านั้น

  21. ตัวอย่างลักษณะที่แสดงออกแบบ sex-limited ในสัตว์

  22. Crossing over เป็นกระบวนการแลกเปลี่ยนชิ้นส่วนของยีนระหว่างโครโมโซม (non-sister chromosome)ที่เป็นคู่กัน ผลจากการเกิด crossing over จะทำให้เกิดการแลกเปลี่ยนชิ้นส่วนโครโมโซม (ยีน) ....... อาจส่งผลให้ยีนที่อยู่บนโครโมโซมเดียวกันไม่ถูกถ่ายทอดไปด้วยกัน .......

  23. การเกิด crossing over … เมื่อสิ้นสุดการแบ่งเซลล์ไมโอซิส จะได้เซลล์สืบพันธุ์ที่แตกต่างกัน 2 ชนิด 1. Parental type (gameteชนิดที่ไม่เกี่ยวข้องกับการเกิด crossing over) 2. Recombination type (gameteชนิดที่เกิดจากโครมาติดเกิด crossing over)

  24. แผนที่ยีน • แผนที่ยีน (genetic map) หมายถึงคือการนำยีนที่อยู่บนโครโมโซมเดียวกันมาเรียงลำดับ และเพื่อบอกระยะห่างระหว่างยีน บนโครโมโซม • ระยะทางระหว่างยีน (genetic distance) คำนวณได้จากอัตราการเกิด crossing over โดยกำหนดให้ 1% crossing over มีค่าเท่ากับระยะทาง 1 map unit หรือ 1centimorgan(cM)

  25. ประโยชน์ของการทำแผนที่ยีนบนโครโมโซมประโยชน์ของการทำแผนที่ยีนบนโครโมโซม 1. ช่วยในการหาลำดับของยีนที่เรียงตามยาวบนโครโมโซม 2. สามารถหาระยะทางระหว่างยีนบนโครโมโซม (ระยะทางของยีนบนโครโมโซมจะวัดในหน่วยของ map unit) ใช้ในการศึกษาการแสดงของลักษณะต่างๆ ได้ทั้งในโครโมโซมของ prokaryote และ eukaryote 3. มีประโยชน์ในการศึกษาทาง molecular biology และ genetic engineering 4. เมื่อมีการผ่าเหล่า (mutation) ทำให้ทราบและบอกชนิดของการเกิดการผ่าเหล่าได้ทันที

  26. Linkage gene ต่อการปรับปรุงพันธุ์สัตว์ • ประยุกต์ใช้กลุ่มยีนที่มีความเกี่ยวข้องกันและถ่ายทอดไปด้วย (linked)เพื่อเป็นเครื่องหมายทางพันธุกรรมช่วยในการคัดเลือกพันธุ์สัตว์ได้ • โดยเฉพาะลักษณะทางเศรษฐกิจที่ควบคุมด้วยยีนหลายคู่ .. การคัดเลือกยีนใดยีนหนึ่งเพื่อบอกบ่งชี้ทำได้ยาก .. เช่น ยีนควบคุมการให้ผลผลิตน้ำนม และยีนอื่นๆที่ควบคุมลักษณะเชิงปริมาณ เป็นต้น

  27. IA, I B, I O Multiple allele : การควบคุมการแสดงออกยีน ณ locus หนึ่งประกอบด้วยยีนที่มี allele มากกว่า 2 อัลลีล ขึ้นไป เช่น กรุ๊ปเลือด ระบบ ABO IA,I B,I O IAIA, I AIO = Type A IBIB, IBIO = Type B IAIB= Type AB IOIO = Type O

  28. Multiple allele • การควบคุมการแสดงออกโดยยีนมากกว่า 2 อัลลีนอยู่บนตำแหน่งเดียวกันบนคู่ โฮโมโลกัสโครโมโซม การมีสีขนในกระต่าย การมีสีขนในกระต่ายถูกควบคุมด้วยยีนคู่เดียวแบบ multiple alleles โดย C = Full color (ขนสีดำหรือน้ำตาลตลอดทั้งตัว) cch = Chinchilla (ขนสีเทาและขาวแซมตลอดตัว) ch = Himalayan (ขนสีขาวแต่มีสีดำที่ปลายหู จมูก หาง และเท้า) c = Albino (ขนสีขาว ตาแดง)

  29. Multiple allele

  30. Multiple allele

  31. Pleiotropic gene • การที่ยีนเพียงตำแหน่งเดียวสามารถควบคุมการแสดงออกได้มากกว่า 1 ลักษณะ

  32. Modifying Gene • Modifying gene คือยีนหรือกลุ่มยีนที่ทำหน้าที่ดัดแปลงการแสดงออกของยีนหลัก (major gene) โดย modifying gene ส่วนใหญ่มักมีอยู่หลายตำแหน่ง • Modifying gene โดยมากควบคุมในลักษณะปริมาณ ในขณะที่ major gene ที่เกี่ยวข้องมักเป็นยีนที่ควบคุมการมีลักษณะเชิงคุณภาพ

  33. Modifying Gene Holstein Friesian • Ex. การมีสีขาว-ดำของโคนมพันธุ์ Holstein Friesian พบว่า การมีจุดขาวบนพื้นลำตัวสีดำนั้นเป็นลักษณะเด่น ซึ่งถูกควบคุมโดย major gene ในขณะที่ขนาดและตำแหน่งบนลำตัวของจุดขาวเหล่านั้นจะถูกควบคุมด้วย modifying gene อีกหลายตำแหน่ง

  34. Poly gene การถ่ายทอดลักษณะที่ถูกควบคุมด้วยยีนหลายคู่ (poly = many) เมื่อเราเรียงการกระจายของลักษณะตั้งแต่ให้ค่าต่ำที่สุดถึงสูงที่สุดจะได้กราฟการกระจายเป็นรูประฆังค่ำ 6/16 4/16 4/16 1/16 1/16 B D M L W

  35. Lethal Gene • การควบคุมการแสดงออกโดยยีนโดยก่อให้เกิดลักษณะผิดปกติและอาจก่อให้เกิดการตายในที่สุด ลักษณะการตายในสัตว์

  36. Lethal Gene

  37. Lethal Gene • Dominant Lethal การควบคุมลักษณะของสัตว์ในลักษณะที่ dominant homozygous genotype จะตาย • Recessive Lethal การควบคุมลักษณะของสัตว์ในลักษณะที่ recessive homozygous genotype จะตาย • Semilethal สัตว์มีลักษณะผิดปกติเนื่องจาก dominant หรือ recessive lethal แต่ยังสามารถเลี้ยงให้มีชีวิตรอดได้ถ้ามีการจัดการดูแลอย่างเหมาะสม

More Related