1 / 25

คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ( กลุ่ม ZAO SHANG HAO )

คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ( กลุ่ม ZAO SHANG HAO ). คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. ทศวรรษที่ 1 (พ.ศ. 2515 - 2524) : ยุคแห่งการก่อร่าง สร้างบ้าน ทศวรรษที่ 2 (พ.ศ. 2525 - 2534) : ยุคแห่งการพัฒนาคน พัฒนางาน ทศวรรษที่ 3 (พ.ศ. 2535 - 2544) :

oakley
Download Presentation

คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ( กลุ่ม ZAO SHANG HAO )

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ( กลุ่ม ZAO SHANG HAO )

  2. คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ • ทศวรรษที่ 1 (พ.ศ. 2515 - 2524) : ยุคแห่งการก่อร่าง สร้างบ้าน • ทศวรรษที่ 2 (พ.ศ. 2525 - 2534) : ยุคแห่งการพัฒนาคน พัฒนางาน • ทศวรรษที่ 3 (พ.ศ. 2535 - 2544) : ยุคแห่งคุณภาพ • ทศวรรษที่ 4 (พ.ศ. 2545 - ปัจจุบัน) : ยุคแห่งความรู้และการจัดการความรู้

  3. ช่วงทศวรรษที่ 2 และ 3 •  พัฒนาคนและงานเป็นอย่างมาก •  ยึดคุณภาพเป็นหลัก •  เกิดกิจกรรม •  มีการรวมตัวกันข้ามสายงาน •  มีการนำเสนอผลงานหรือกิจกรรมต่าง ๆ >> มีการประชุมด้าน QA (Quality Assurance) ทุก ๆ 3 เดือน

  4. ทศวรรษที่ 4 : ยุคแห่งความรู้และการจัดการความรู้ ทำความกระจ่าง (clarification) ในเรื่อง KM 1. Outside-in คือ การเชิญผู้รู้ในเรื่องต่างๆมาเล่า มาบรรยายให้คนของคณะได้รับทราบ 2. Inside-out คือ การส่งบุคลากรของคณะไปจับเอาความรู้ (Knowledge capture) ในเรื่องจากภายนอก

  5. ก้าวสำคัญของการเริ่มนำ KM มาใช้อย่างเป็นระบบในคณะ ให้ขยายจุดเน้น (focus) ของการพัฒนาบุคลากร  คนและความรู้ (knowledge) เป็นทรัพยากรที่มีค่าสูงสุด ของคณะ " พัฒนาคน พัฒนางาน และจัดการความรู้ โดยชูคุณภาพเป็นหัวใจ และมุ่งไปที่ผู้รับบริการเป็นสำคัญ"

  6. แผนที่ยุทธศาสตร์เพื่อนำคณะแพทยศาสตร์ไปสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้แผนที่ยุทธศาสตร์เพื่อนำคณะแพทยศาสตร์ไปสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้ อาศัยการจัดการความรู้เป็นกระบวนการ ( ใช้ KM ) บูรณาการ (integrate) KM mission : จะเป็นคณะแพทยศาสตร์ที่มีการ บริหารจัดการความรู้ ที่เป็นตัวอย่าง (Best practice) ของคณะแพทยศาสตร์อื่นๆ ใน 4 ปี

  7. ตั้งคณะกรรมการพัฒนาระบบบริหารความรู้ตั้งคณะกรรมการพัฒนาระบบบริหารความรู้ หน้าที่ตั้งคณะกรรมการพัฒนาระบบบริหารความรู้ • กำหนดเป้าหมายของการจัดการความรู้ขององค์กร • สร้างบรรยากาศขององค์กรให้เอื้อต่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ • บริหารจัดการความรู้ภายในองค์กร • ทำแผนการพัฒนาระบบบริหารความรู้ในองค์กร • สร้างเครือข่ายความรู้กับองค์กรอื่น ๆ • คณะกรรมการชุดนี้จะมีวาระ 2 ปี (16 กันยายน 2547 - 15 กันยายน 2549)

  8. ความรู้ที่คณะแพทยศาสตร์ มอ.จะนำมาจัดการ 1 ความรู้ที่เกิดจากประสบการณ์ตรงของผู้ปฏิบัติงาน 2 ความรู้และนวัตกรรมในการบริหารจัดการ 3 ความรู้ใหม่จากภายนอกที่นำมาประยุกต์ใช้ในคณะแพทยศาสตร์

  9. การดำเนินงาน 1 จัดเวที Knowledge Sharing Day 2 เชิญวิทยากรจาก สคส. มาถ่ายทอดเทคนิควิธีการในแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 3 จัดให้มีการ coaching ระหว่างหน่วยงาน 4 หา best practice แล้วมากำหนดเป็นมาตรฐานของคณะ 5 มี web board 6 มีเวทีในการติดต่อแลกเปลี่ยนความรู้ 7 ประกาศ สนับสนุนให้จัดตั้งกลุ่ม หรือชุมชนนักปฏิบัติ

  10. การสื่อสาร KM 1 เรื่องจัดทำ KM NEWS กำหนดออกทุก 2 เดือน 2 Knowledge Sharing Day กำหนดจัดปีละ 3 ครั้ง

  11. ดัชนีหลัก (Indicator) วัดความสำเร็จด้านการจัดการความรู้ KM Activity ไม่กำหนดจำนวนครั้ง/ จำนวนคนที่เข้าร่วม แต่ เน้นคุณภาพ จัดตามความพร้อม CoP ตั้งเป้าหมาย 5 กลุ่ม/ปี ODOK(One Division/Department One Knowledge ) : หนึ่งหน่วยงาน หนึ่งความรู้

  12. KM TOOL ศักยภาพของ "คน" นำมาซึ่งความสำเร็จอย่างน่ามหัศจรรย์ ศักยภาพ โดดเด่นขึ้นมา ที่สำคัญอยู่ที่ใจ โดยการนำประสบการณ์ ความรู้ที่มีอยู่ในคน (Tacit Knowledge) และ "คว้า" (Capture) ความรู้ภายนอกองค์กรมาใช้ในการทำงาน

  13. ตัวอย่าง KM TOOL - การจัดตารางรายชื่อและวิธีติดต่อผู้เชี่ยวชาญด้านใดด้านหนึ่งที่เกี่ยวข้องกับการทำงาน - การกระจายความรู้ - การจัดประชุมให้มีการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ - การจัดกระบวนการกลุ่มให้คนต่างหน่วยงานได้มาทำงานแก้ปัญหาร่วมกัน

  14. Knowledge sharing Best practice ด้านการประสานงานร่วมมือ การสื่อสารที่ดีที่สุด อายุรศาสตร์ หน่วยรังสีรักษา คลินิกหู คอ จมูก ภาคกุมารเวชศาสตร์ ภาควิสัญญีวิทยา

  15. ตัวย่าง Best Practice ด้านการประสานงานร่วมมือและช่วยเหลือกัน ในการดูแลรักษาผู้ป่วย ของหอผู้ป่วยพิเศษเฉลิมพระบารมี 8

  16. กลยุทธ์และปัจจัยแห่งความสำเร็จทีมเจ้าหน้าที่หอผู้ป่วย + ทีมแพทย์ + ทีมเจ้าหน้าที่อื่นๆ • ทีมเจ้าหน้าที่หอผู้ป่วย ทุกคนมองเห็นปัญหาและร่วมกัน  การติดตามอย่างใกล้ชิด  การตอบสนองอย่างรวดเร็ว การสื่อสารภายในทีม • ใช้สมุดบันทึกเหตุการณ์ • แฟ้มหนังสือเวียน • การประชุมหอผู้ป่วยทุก 2 เดือน หลักในการบริหารทีมที่สำคัญ • หัวหน้าต้องเป็นแบบอย่างที่ดีให้แก่ลูกน้อง • ใช้หลักการกระจายงาน • เปิดโอกาสให้ทุกคนแสดงความคิดเห็น

  17. กลยุทธ์และปัจจัยแห่งความสำเร็จกลยุทธ์และปัจจัยแห่งความสำเร็จ 2. ทีมแพทย์ • จัดเจ้าหน้าที่ตามแพทย์ • การสื่อสารกับแพทย์ 3. ทีมเจ้าหน้าที่อื่นๆ • เจ้าหน้าที่โภชนาการอาหาร

  18. “ในการทำงาน ถ้าเราจะบริการให้ดี ต้องคิดเสมอว่า ผู้ที่อยู่ตรงหน้าเรา เป็นเสมือน พ่อ แม่ หรือญาติของเรา ถ้าเราคิดได้อย่างนี้ เราต้องทำดีแน่นอน”

  19. CoP ของคณะแพทยศาสตร์ •  CoP ปีละ 5 กลุ่ม • - กลุ่มที่มีความสนใจเรื่องเดียวกันมาร่วมกันพัฒนา • - รวมกลุ่มบุคลากรที่หลากหลาย

  20. CoP ที่เน้นการบริหารจัดการ • CoP Discharge Planning- CoP ระบบนัด       - CoP การบริหารยา (Medication Error) • จัดตั้งกลุ่ม CoP ด้านการบริหาร

  21. IT กับการจัดการความรู้ องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ 1. ระบบเครือข่าย IT (Network) 2. ระบบความปลอดภัย (Security) 3. การออกแบบระบบฐานข้อมูล 4. โปรแกรมสนับสนุนเพื่อช่วยสืบค้นข้อมูล

  22. IT กับการจัดการความรู้

  23. ตัวอย่าง WEBBOARD

  24. ตัวอย่าง WEBBOARD

  25. บทส่งท้าย เรียนรู้ ลองทำ และปรับใช้อย่างต่อเนื่อง เรียนรู้จากงาน เจือจานแบ่งปัน เรียนรู้ด้วยกัน สร้างสรรค์คณะเรา

More Related