1 / 45

Staffing Productivity แนวคิดการเพิ่มผลผลิต

Staffing Productivity แนวคิดการเพิ่มผลผลิต. วรา พร หาญ คุณะ เศรษฐ์ ฝ่ายการพยาบาล โรงพยาบาลศิ ริราช. ประเด็นนำเสนอ. ความหมายของการเพิ่มผลผลิต ความสำคัญ ทำไมต้องสนใจแนวคิดนี้ การเพิ่มผลผลิต กับ การปรับปรุงกระบวนการทำงาน การนับงาน/หน่วยนับของผลผลิตทางการพยาบาล. Productivity การเพิ่มผลผลิต.

noel-deleon
Download Presentation

Staffing Productivity แนวคิดการเพิ่มผลผลิต

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Staffing Productivityแนวคิดการเพิ่มผลผลิต วราพร หาญคุณะเศรษฐ์ ฝ่ายการพยาบาล โรงพยาบาลศิริราช

  2. ประเด็นนำเสนอ • ความหมายของการเพิ่มผลผลิต • ความสำคัญ ทำไมต้องสนใจแนวคิดนี้ • การเพิ่มผลผลิต กับ การปรับปรุงกระบวนการทำงาน • การนับงาน/หน่วยนับของผลผลิตทางการพยาบาล

  3. Productivity การเพิ่มผลผลิต ความหมาย ตามพจนานุกรม แปลว่า • คน : ผลแห่งความเหนื่อยยากของคน (สร้างผลิตผล/มีผลงาน) ก่อประโยชน์ หรือ พืช :ออกผล สัตว์:ออกลูก/ให้นม/ให้เนื้อ เป็นต้น • การเพิ่มผลผลิต/การปรับปรุงประสิทธิภาพ การผลิต(สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ)

  4. แนวคิดของการเพิ่มผลผลิต • ปัจจุบันการเพิ่มผลผลิตให้ความสำคัญกับคน และ ถือว่าทุกคน ทุกหน่วย/ฝ่าย ทุกวิชาชีพเป็นปัจจัยที่มีความสำคัญมากที่สุดของการสร้างผลผลิต • แนวคิดหลัก สองประการ

  5. Productivity: การเพิ่มผลผลิต แนวคิดที่ 1 แนวคิดทางเศรษฐศาสตร์ สังคม • สำนึกทางจิตใจที่เชื่อว่า วันนี้ต้องดีกว่าเมื่อวานนี้ และ พรุ่งนี้ ต้องดีกว่าวันนี้ หมายถึง “ การที่เราคิด หาโอกาส หาวิธีการ และปรับปรุงงานของเราให้ได้ผลที่ดีขึ้นอยู่เสมอ” ใช้ทรัพยากร พลังงาน เงิน ฯลฯ อย่างมีเหตุผล คุ้มค่าและเกิดประโยชน์สูงสุด แนวคิดที่ 2 แนวคิดทางวิทยาศาสตร์ “อะไรที่วัดได้ พัฒนาได้ ” หมายถึง อัตราส่วนระหว่าง ปัจจัยนำเข้าที่ใช้ไปกับผลที่ได้จากการทำงานนั้นๆ = ผลจากการทำงาน(Outputs) ปัจจัยนำเข้าที่ใช้ในกระบวนการ(Inputs)

  6. Work Standard Ratios: Objectives: Productivity index Overall indexes: Cost Ratios: Time Standard Ratios: 5 มิติของการวัด Productivity อ.มนต์ชัย พินิจจิตรสมุทร

  7. ความหมายของการเพิ่มผลผลิตความหมายของการเพิ่มผลผลิต หมายถึง การวัดประสิทธิภาพการใช้ทรัพยากรในการสร้างงานเพิ่ม/ทำให้ได้ผลผลิตเพิ่ม(ผลผลิตและผลลัพธ์) ได้แก่ • การวัดประสิทธิภาพของการจัดสรรกำลังคน (ผลิตภาพการใช้กำลังคนให้เกิดผลได้/ผลผลิตที่ดีขึ้น) • ประเมินประสิทธิภาพกำลังการผลิตเพื่อการจัดสรร เครื่องจักร วัสดุ พลังงานและ ทุน(ความรู้ใหม่ เทคโนโลยีฯลฯ) • ใช้เป็นตัวชี้วัดประสิทธิภาพของการบริหารและการจัดการผลผลิต/บริการ(Evaluation ofOperation management) (Thailand Quality Award,2548:p.118/Glossary)

  8. ผลผลิตกับผลลัพธ์ • ผลผลิต(Out put) • สิ่งของหรือบริการที่จัดทำขึ้นหรือผลิตขึ้นเพื่อให้บุคคลภายนอกได้ใช้ประโยชน์ • มีลักษณะเป็นรูปธรรม รับรู้ได้ นับเป็นจำนวนหน่วย/ชม./วัน/ปี เช่น ราย ครั้ง ชั่วโมง/นาที หรือ วันนอน ผลลัพธ์(Outcome) ผลประโยชน์ที่ได้จาก ผลผลิตและผลกระทบ ที่เกิดขึ้นจากการใช้ สินค้าหรือบริการ เช่นจำนวนผู้ที่หายป่วย % VAP % Pressure ulcer

  9. Operation System:ประสิทธิภาพของการดำเนินงาน • “ พลังความสามารถ ความทุ่มเท ความมานะพยายามความคิด วิธีการใหม่ การคัดสรรวัตถุดิบ การเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบบางอย่างที่มีความหมายต่อผลของชิ้นงาน หรือ อะไรก็ตามที่ใส่เข้าไปในกระบวนงานแล้วสร้างงานให้ได้ผลงานที่ดีขึ้นกว่าเดิม ” • Nursing Productivity • ถ้าเป็นบุคคลInputที่ใส่เข้าไปในกระบวนการพยาบาลที่ทำให้เกิดผลการพยาบาลที่ดียิ่งขึ้นคืออะไร • ถ้าเป็น ward การจัดการปัจจัยนำเข้า เพื่อให้เราให้การพยาบาลแก่ผู้ป่วยให้เกิดผลดีขึ้นทำอะไร?อย่างไร?

  10. ทำไมจึงต้องสนใจแนวคิดนี้……..ทำไมจึงต้องสนใจแนวคิดนี้…….. • แนวคิดการเพิ่มผลผลิต พัฒนาขึ้นเพื่อสร้างจิตสำนึกของคนในชาติให้รู้จักคุณค่าของทรัพยากรที่มีจำกัด และใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด • แกนหลักของเรื่องนี้ คือ การปรับปรุงกระบวนการทำงาน(PI:Process Improvement) ยกตัวอย่าง......... • โดยมีแนวทางปรับปรุงผลิตภาพงาน2แนวทาง คือ...... • ลดความสูญเปล่า สิ้นเปลืองที่แฝงอยู่ในกระบวนงาน • การปรับปรุงกระบวนงานที่นำไปสู่การลดการสูญเสีย/เพิ่มผลได้ที่ดีกว่าเดิมโดยใช้ทรัพยากรเท่าเดิม หรือ ลดลง

  11. การปฏิบัติงานอย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล เป็นรากฐานของการเพิ่มผลผลิต สูง 1 3 บรรลุเป้าหมาย ต่ำ 2 4 แย่ ดี การใช้ทรัพยากร

  12. “การวัดผลิตภาพสะท้อนความเหมาะสมของการใช้ทรัพยากรไป ในการผลิตงาน..บอกประสิทธิภาพการทำงานของใคร?” NURSING PRODUCTIVITY =The resources or inputs required to produce services or output • ผลิตภาพเป็นผลของการใช้ทรัพยากรในการดูแลผู้ป่วย • เป็นสิ่งหนึ่งที่ใช้บอกถึงการบริหารจัดการระหว่างผลที่ได้มากับปัจจัยการผลิตหรือต้นทุนที่ใช้ในกระบวนการทำงาน • เป็นตัวชี้วัดซึ่งนิยมใช้ในทางสากล ชี้ให้เห็นถึงประสิทธิภาพการใช้ทรัพยากร(กำลังคน เงิน ของฯลฯ)เพื่อการผลิตบริการพยาบาลของผู้บริหาร Finkler&Graf,2001;Budgetting Concepts for Nurse Managers:398

  13. Nursing organization/Unit/ward INPUTปัจจัยนำเข้าPatientResourcesFiscalResource Environment OS:Operation System ระบบการบริหารงานประจำ • THROUGHPUT • กระบวนการทำงาน • Nursing Care • Nursing • Management • Resource Utilization • OUTPUT • ผลที่มุ่งหวัง • Cost • Quality • Satisfaction บัญชีครัวเรือน ปีงบประมาณ 2548ใช้เงินเดือนไป 3ล้าน ค่าฝึกอบรม5หมื่น ค่าบริหารส่วนกลาง 2แสน ค่าวัสดุใช้สอยสิ้นเปลือง 4แสน รวม3.65ล้านบาทใช้งบประมาณไปแล้ว...........ตอบ/รายงานได้ว่าทำอะไรและได้อะไรมาบ้าง ?

  14. Responsibility VS Accountability Responsibility • แบ่งงานตามหน้าที่ • งานเป็นตัวขับเคลื่อน • เน้นกระบวนการปฏิบัติ • สั่งการตามสายบังคับบัญชา • ใช้ทักษะด้านใดด้านหนึ่ง • ตายตัว Accountability • มุ่งผลที่เกิดกับผู้รับผลงานเป็นหลัก • การบูรณาการเป็นตัวขับเคลื่อน • มุ่งผลลัพธ์ของงาน • การเป็นหุ้นส่วน • ใช้ทักษะผสมผสาน หลายด้าน • ยืดหยุ่น เคลื่อนย้ายได้

  15. มีคำถาม 2 คำถาม:ซึ่งคำตอบ คือ ตัวตั้งของการจัดการผลผลิตการพยาบาล Q&A 1. งานพยาบาล คือ อะไร?ผู้รับผลงานของท่านต้องการอะไรจากงานที่ท่านทำให้เขา และ............ 2. พยาบาลใช้ทรัพยากรอะไรบ้าง?..จึงทำให้เกิดผลงานการพยาบาลที่มีคุณภาพ ตรงความต้องการของผู้ ที่เกี่ยวข้อง ผู้รับผลงานและผู้ให้การพยาบาลพอใจ

  16. งานพยาบาล คือ อะไร?พ.ร.บ.วิชาชีพกำกับ • เช็ดตัว ดูแลความสะอาดร่างกาย • ป้อนข้าว ให้อาหารทางสายยาง • ดูแลการขับถ่ายปกติ กลั้นไม่ได้ • การเคลื่อนไหวร่างกาย • อุณหภูมิ • ทำคลอด • Suction • Treatment • Medicationฯลฯ • พยาบาลใช้ความสามารถอะไร สร้าง/ผลิตงาน แรงกาย แรงใจ กำลังสติปัญญา ทักษะ+ความสามารถ ความเข้าใจในความเป็นคน (เข้าใจตนเองและเข้าใจผู้อื่น)

  17. การวัดขนาดของผลงาน(หน่วยนับของงาน)/การวัดขนาดของผลงาน(หน่วยนับของงาน)/ วัดได้พัฒนาได้ การวัดผลผลิตทางการพยาบาล3วิธี 1. Operationtargetoutput: วัดผลการปฏิบัติงานตามเป้าหมายโดยวัดจำนวนผลผลิตที่นับได้เช่นจำนวนผู้ป่วย วันนอน จำนวนหัตถการ ฯลฯ 2. Performance indicators:วัดผลการดำเนินงานโดย KPI 3.Nursingoutcomes:วัดคุณค่าที่เกิดขึ้นกับผู้รับผลงาน เมื่อใช้บริการพยาบาลแล้วเป็นอย่างไร?

  18. OS:Operation System การบริหารงานประจำ...(วัน เดือน ปี) ประสิทธิภาพระบบปฏิบัติการ ของwardเป็นอย่างไร? • ใช้ประโยชน์จากปัจจัยการผลิตให้เกิดผลได้สูงสุดหรือเปล่า? • ปัจจัยการผลิตและบริการมีความเหมาะสมพร้อมและเพียงพอต่อการตอบสนองที่ตรงกับความต้องการของผู้ใช้หรือยัง? • บริการมีมาตรฐาน ตรวจสอบได้ทั้งวิธีปฏิบัติและผลที่เกิดขึ้น ( ระบบการพยาบาลใช้Nursing round&Conference ส่งเวรสอบทวนการปฏิบัติงานแต่ละช่วงเวลา หรือ ทีมสหเวชตรวจเยี่ยมข้างเตียง โดยใช้C 3 THER’s)

  19. Operationtargetoutput:เป้าหมายการจัดบริการจะให้การพยาบาลเท่าใดใน ปีงบประมาณ ไตรมาสเดือน จำนวนหน่วยนับของบริการ(UOS:Unit of service) เดิม • จำนวนเตียง • ยอดผู้ป่วย ณ เที่ยงคืน ปัจจุบัน • IPD:วันนอน • OPD/LR: ครั้งของการมารับบริการ • Day Procedure:ครั้งของหัตถการ • OR/ICU: houror minute of operation/Stay in ICU/ER

  20. Operation target output:เป้าหมายการจัดบริการ แผนพัฒนางาน แผนงานประจำ/แผนการดำเนิน Operation plan 20% 80% จะให้น้ำหนัก/ สัดส่วนเท่าใด? ท่านวางแผนการจัดการเวลาของพยาบาลไว้อย่างไร ?

  21. P:Productivityการพัฒนาความสามารถในการผลิตหรือ กำลังการผลิต วีณาโฆษิตสุรังคกุลและคณะ(2544) เป้าหมายแรกเพื่อลูกค้า[QCD] • Q: คุณภาพ (Quality) • C: ต้นทุน (Cost) • D:การส่งมอบสินค้าและการบริการ (Delivery and Service) เป้าหมายที่สองเพื่อพนักงาน [SM] • S: ความปลอดภัย (Safety) • M:ขวัญและกำลังใจของพนักงาน (Morale) เป้าหมายสุดท้ายเพื่อสังคมโดยรวม[EE] • E: สิ่งแวดล้อม(Environment) • E:จรรยาบรรณ(Ethics)

  22. ดัชนีชี้วัด(Indicators) คือ สารสนเทศที่เป็นตัวเลข • บอกจำนวนปัจจัยนำเข้าและผลผลิต(Output) รวมทั้งผลการดำเนินการของกระบวนการ • บอกถึงผลิตภัณฑ์/บริการ และ องค์กรโดยรวม

  23. การใช้ทรัพยากรบุคคลให้เกิดประโยชน์สูงสุดการใช้ทรัพยากรบุคคลให้เกิดประโยชน์สูงสุด รวมถึง • การจัดสรรอัตรากำลังในสัดส่วนที่พอเหมาะกับความต้องการของผู้ใช้บริการ • การผสมผสานทักษะความชำนาญงานเฉพาะด้าน (Skillmix)อย่างเหมาะสมแลเกิดผลดีต่อผู้รับบริการ • การลด/ขจัดงานที่ไม่ใช่งานพยาบาล (Unreasonabletasks) ออกจากขอบเขตความรับผิดชอบ (ทัศนา บุญทอง, 2543)

  24. Staffing productivity Measurement วัดได้แล้ว ทราบแล้ว เอาไปทำอะไร?

  25. Standard Criteria:เกณฑ์มาตรฐาน ผลิตภาพน้อยกว่า 85 มีงานน้อย/งานเบา ผลิตภาพมากกว่า 115มีงานมาก /งานหนัก

  26. การใช้ประโยชน์จากปัจจัยการผลิตด้านบุคลากรการใช้ประโยชน์จากปัจจัยการผลิตด้านบุคลากร • คุณภาพการพยาบาลจะสูงสุดเมื่อปริมาณงาน และ บุคลากรสมดุลกัน และเมื่อมีการใช้ประโยชน์บุคลากร อยู่ในช่วงร้อยละ90-110 (Mayor 1987 in Gillies, 1989 : 288)

  27. Staffing and Productivity Goals • to understand some of the key terms in workload management • Know the relationship between staffing and scheduling • Understand the meaning of productivity in health care organizations • Develop and describe commonly used productivity ratios

  28. Workload Management Staffing Scheduling Reallocation Staff Utilization Patient Satisfaction Productivity Staff Satisfaction Costs

  29. Workload Management Staffing • Decide on the appropriate number of full time employees to be hired in each skill class • Longer term– tactical Scheduling • Establishes when each staff will be on or off duty and on which shifts they will work • Often per pay period Reallocation • Fine tunes the previous decisions. Shift-by-shift decisions.

  30. Determination of FTEs for Nurse Staffing • Minutes of required care Minutes of care = (average census) * (average required minutes per patient) • Unadjusted FTEs Unadjusted FTEs = (Total minutes of care)/ (Minutes available to work per nurse per day) • Core Level FTEs Core Level FTEs = (Total Minutes of Care)/(utilization standard)*Available work minutes) See example on Excel Spreadsheet

  31. Daily Productivity Trend Hours • Worked Hours: Hours expended to carry on operations • Worked / Productive Hours = Regular + Overtime + Contract • Paid Hours: All hours expended in a department • Paid Hours = Regular + Overtime + Contract + Orientation + Education + PTO + Holiday • Contract: Per Diem or Contract Agency • Overtime: Hours paid at time and a half • Orientation: Hours used for orientation

  32. Hours(cont.) • Productive Hours = Worked hours or hours expended that contribute to operations • Non-Productive Hours = Hours expended that do not contribute to operations • Non-Productive = Orientation + Education + PTO + Holiday • Paid Hours = All hours previously described

  33. Daily Productivity Trend UOS (Unit of Service) Worked Hrs Paid Hrs Salary Cost Per Stat AvgHrly Rate Agency / Contract Hrs & % Overtime Hrs & % Orientation Hrs & %

  34. Daily Productivity Trend • Totals hours used for Pay Period • Total hours used in prior Pay Period • Total hours used month to date

  35. Daily Productivity Trend • Focused mainly on the management of actual hours • Worked Hours • Paid Hours • Agency Hours/Part time – OT –Per Diam • Provides trended view of hours used during a given pay period • Allows one to see improvements or failures in labor resource management from day to day

  36. Daily Productivity Trend • Totals hours used for Pay Period • Total hours used in prior Pay Period • Total hours used month to date

  37. Performance:ผลการดำเนินงาน • ผลลัพธ์ที่ได้จากกระบวนการ การใช้ผลิตภัณฑ์ และบริการ ซึ่งประเมินและเปรียบเทียบกับมาตฐาน/ ผลลัพธ์ที่ผ่านมา และ กับองค์กรอื่นๆ • แสดงได้ทั้งในด้านการมุ่งเน้นผลลัพธ์ด้านลูกค้า ทรัพยากรบุคคล ผลิตภัณฑ์/บริการ การเงิน การปฏิบัติการและอื่นๆ

  38. ผลการดำเนินการที่เป็นเลิศ:Performance Excellence แนวทางการจัดการอย่างบูรณาการ ซึ่งทำให้เกิด • การเพิ่มคุณค่าให้กับลูกค้าอย่างต่อเนื่องที่นำไปสู่ผลสำเร็จทางธุรกิจ • การปรับปรุงประสิทธิผลและความสามารถขององค์กร • การเรียนรู้ขององค์กรและของแต่ละบุคคล

  39. Ex.Key Performance Areas • Patient care • Quality of care improvement • Staffing • Cost control • Increase Productivity • Improved patient&staff satisfaction • Innovation &Long-range planning

  40. “Emphasis on quality,Not costs”

  41. Balance Score Cards:How toBalance?(Quality imperative:John R.Kimberly,Etiene Minvielle)

  42. Source: National Health Minister’s BenchmarkingWorking Group 1996

  43. PMDS National Models:การจัดการผลการดำเนินงานด้านการพยาบาล ใช้ในการประเมินต้นทุน-ประสิทธิผลทางคลินิกPMDSออกแบบเพื่อใช้ประเมินผลการดำเนินงานขององค์กรพยาบาล โดยมีเป้าหมายเพื่อเปรียบเทียบผลการดำเนินงานระหว่างองค์กร พยาบาลที่ให้บริการในลักษณะที่เหมือนๆกันซึ่งจะช่วยให้ผู้บริหาร มองเห็นทิศทางการเพิ่มมูลค่าของผลงานในองค์กร Performance Management Data Systems for NursingService organizations Andrea c. Gregg,2002;JONA.Vol.32,No2:71-78

  44. Directional arrows indicate performances that are higher and lower than the nursing service organization benchmark.

More Related