1 / 29

BC 427 - Class 12

BC 427 - Class 12. By A.Penjira Kanthawongs. Chapter 7: Budgeting. Budgeting (การจัดทำงบประมาณ) คือ การคาดการณ์รายรับและรายจ่ายในอนาคตของบุคคลใดบุคคลหนึ่ง การรวบรวมรายรับและรายจ่ายเพื่อทำการวิเคราะห์อย่างละเอียด การตรวจสอบและการควบคุมรายรับและรายจ่ายในอนาคตของบุคคลใดบุคคลหนึ่ง.

nishan
Download Presentation

BC 427 - Class 12

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. BC 427 - Class 12 By A.Penjira Kanthawongs

  2. Chapter 7: Budgeting Budgeting (การจัดทำงบประมาณ) คือ • การคาดการณ์รายรับและรายจ่ายในอนาคตของบุคคลใดบุคคลหนึ่ง • การรวบรวมรายรับและรายจ่ายเพื่อทำการวิเคราะห์อย่างละเอียด • การตรวจสอบและการควบคุมรายรับและรายจ่ายในอนาคตของบุคคลใดบุคคลหนึ่ง A.Penjira Kanthawongs

  3. Budgeting มีกระบวนการอยู่ 4 ขั้นตอน ดังนี้ 1. Determine available income. (กำหนดรายรับที่จะได้รับ) 2. Determine necessary expenditures and appropriate spending levels for all expenditures.(กำหนดรายจ่ายที่จำเป็น และกำหนดวงเงินของการใช้จ่ายสำหรับค่าใช้จ่ายทั้งหมด) A.Penjira Kanthawongs

  4. 3. Track actual income and expenditures and compare them to budgeted inflows and outflows.(ติดตามรายรับจริงและรายจ่ายจริง พร้อมกับเปรียบเทียบสิ่งดังกล่าวกับงบประมาณที่คาดการณ์ไว้) 4. Take corrective action when needed. (ทำการแก้ไขในสิ่งที่ต้องแก้ไข) A.Penjira Kanthawongs

  5. ลักษณะของ Budgeting ใน Quicken • โปรแกรม Quicken จะใช้ข้อมูลในอดีตในการสร้างงบประมาณ (Budgets) ในอนาคตของบุคคล • ในโปรแกรม Quicken V. 99 แต่ละแถว (Row) จะแทนชนิดของกลุ่ม (Category) แต่ละคอลัมน์ (Column) จะแทนงบประมาณในแต่ละเดือน ช่องว่างที่ตัดระหว่างแถวและคอลัมน์คือ เซลล์ (Cell) แต่ V. 2002 จะไม่แบ่งเป็น เซลล์ๆ แต่จะแบ่งหน้าจอเป็นส่วนๆ แทน ส่วนหลักๆ มีส่วนด้านซ้ายเป็นภาพรวมของงบประมาณ (Budget) ส่วนด้านขวาเป็นรายละเอียดของแต่ละรายการ (Category) A.Penjira Kanthawongs

  6. งบประมาณที่สร้างขึ้นโดยอัตโนมัติด้วยตัวโปรแกรม Quicken จะสร้างขึ้นโดยใช้รายการทางการเงินที่ผู้ใช้เคยบันทึกลงในโปรแกรมมาก่อน ผู้ใช้สามารถการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงข้อมูลได้ Round Values to Nearest = การปัดหน่วยเงินให้อยู่ในมูล ค่าต่างๆ $1 คือ การปัดมูลค่าให้มีหน่วยเป็นตัวเลขหลักเดียว $10 คือ การปัดมูลค่าให้มีหน่วยเป็นตัวเลข 2 หลัก $100คือ การปัดมูลค่าให้มีหน่วยเป็นตัวเลข 3 หลัก หน่วย $1 จะมีรายละเอียดมากกว่า หน่วย $100

  7. Use Monthly Details คือ การใช้เมื่อผู้ใช้มีข้อมูลครบ 12 เดือน • Use Average for Period คือ การใช้เมื่อผู้ใช้มีข้อมูลไม่ครบ 12 เดือน A.Penjira Kanthawongs

  8. Quicken จำแนกกลุ่มรายจ่าย เป็น 3 กลุ่ม • Non-Discretionary Expenditure หมายถึง ค่าใช้จ่ายที่มีความจำเป็นอย่างยิ่ง • Discretionary Expenditures หมายถึง ค่าใช้จ่ายที่ไม่มีความจำเป็น • Unassigned Expenditure หมายถึง ค่าใช้จ่ายที่ไม่สามารถแยกแยะได้ว่าจะอยู่ในกลุ่มใด • ค่าใช้จ่ายบางอย่างอาจจะมีการเปลี่ยนแปลงกลุ่มได้เมื่อบุคคลมีความจำเป็นเปลี่ยนแปลงไปเมื่อระยะเวลาผ่านไป A.Penjira Kanthawongs

  9. จากหน้า 96 ของหนังสือ Quicken รูปที่ 7 – 6 • Diane และ John มีรายรับ คือ $5340 • มีรายจ่ายคือ $ 3720 • มีส่วนต่างคือ $ 1620 • ซึ่งถือว่าพวกเขาทั้งสองสามารถมีรายรับที่เพียงพอกับรายจ่ายได้ • ฉะนั้น การจัดทำงบประมาณ (Budgeting) จะช่วยให้ผู้ทำประเมินรายรับในอนาคตได้ และค้นพบปัญหาที่อาจจะเกิดขึ้นก่อน A.Penjira Kanthawongs

  10. ในการจัดทำ Budgeting (งบประมาณ) ควร… • มี Categories ที่มีการปรับเปลี่ยนให้ตรงกับรายได้และค่าใช้จ่ายของบุคคล • มีการยืดหยุ่น และ ควรจะมีการเปลี่ยนแปลงตามสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป • ตั้งอย่างมีเหตุมีผลภายในระยะเวลาที่กำหนด • ควรจะจัดทำรูปแบบที่คงเส้นคงวา • มี Categories (กลุ่มหลายๆ กลุ่ม) ที่สร้างเพื่อเป้าหมาย (Goal) ใดเป้าหมายหนึ่ง A.Penjira Kanthawongs

  11. Chapter 8: Credit Transactions • Credit (สินเชื่อ) จะอำนวยให้บุคคลสามารถใช้จ่ายโดยไม่ต้องใช้เงินสดได้ • ประโยชน์ที่เห็นได้ชัดสำหรับ Credit คือ บุคคลที่มีแหล่งเงินทุนจำกัดสามารถซื้อสินค้ามูลค่าสูงๆ ได้ เช่น การซื้อที่อยู่อาศัย • รูปแบบสินเชื่อโดยทั่วไปมี 2 รูปแบบ คือ Personal Credit (สินเชื่อส่วนบุคคล) หรือบางครั้งเรียก Consumer Credit ซึ่งจะรวมถึงบัตรเครดิตและ Charge Accounts A.Penjira Kanthawongs

  12. ปัญหาในการลงรายการการใช้บัตรเครดิตในโปรแกรม Quicken • การใช้บัตรซื้อสิ่งของแต่ละครั้งมิได้มีการลงรายการเป็นค่าใช้จ่าย • การชำระเงินใช้หนี้บัตรเครดิตจะมีการลงบันทึกใน Quicken ว่าเป็นค่าใช้จ่าย • เงินจำนวนนี้มีเป็นเงินก้อนใหญ่ที่มิได้แยกรายการแต่ละรายการว่าใช้ซื้อสิ่งของอะไรไปบ้าง A.Penjira Kanthawongs

  13. ที่ Steps สุดท้ายของหน้า 106 และที่ Steps แรกของหน้า 108 • การพิมพ์รายการ Cash Flow Report ในโปรแกรม Quicken 2002 ทำได้โดย เลือกปุ่มชื่อ Reports ที่ Menu bar | Spending | Cash Flow • Reconciliation (ดู หน้า Index) หมายถึง ขั้นตอนของการตรวจสอบการบันทึกรายการเพื่อให้แน่ใจว่ารายการที่บุคคลบันทึกกับรายการที่ธนาคารบันทึกมีข้อมูลตรงกัน A.Penjira Kanthawongs

  14. ส่วนต่างของการ Reconciliation มีค่าเท่ากับ 0 ตัวเลขนี้หมายถึงการ Reconciliation เสร็จสมบูรณ์แล้ว • ที่รูปที่ 8-13 หน้า 115 • การเขียนเช็คในโปรแกรม Quicken ทำได้โดย เลือกปุ่มชื่อ Banking ที่ Menu Bar | Write Checks • การใช้บัตรเดรดิตจะเป็นปัญหาได้ถ้าผู้ใช้ใช้จ่ายเกินอำนาจซื้อปัจจุบันของตนเอง A.Penjira Kanthawongs

  15. ถ้าบุคคลสามารถจ่ายใช้หนี้บัตรเครดิตได้จนหมดในตอนสิ้นเดือน การใช้บัตรเครดิตจะเป็นเครื่องมือที่ดีที่สุดทางการเงินของบุคคล • แต่ถ้าหากบุคคลใช้จ่ายกับบัตรเครดิตไปแล้วระหว่างเดือนแต่ไม่สามารถจ่ายเงินคืนบริษัทบัตรเครดิตได้ในช่วงสิ้นเดือน บุคคลนี้ใช้บัตรเครดิตอย่างไม่ถูกวิธี A.Penjira Kanthawongs

  16. ในบางครั้งบุคคลอาจจะใช้บัตรเครดิตเพื่อซื้อสินค้าราคาแพงในขณะที่มีการลดราคาด้วยบัตรเครดิตและวางแผนจ่ายเงินคืนบริษัทบัตรเครดิตให้หมดในระยะเวลาที่ตนเองได้วางแผนไว้ในบางครั้งบุคคลอาจจะใช้บัตรเครดิตเพื่อซื้อสินค้าราคาแพงในขณะที่มีการลดราคาด้วยบัตรเครดิตและวางแผนจ่ายเงินคืนบริษัทบัตรเครดิตให้หมดในระยะเวลาที่ตนเองได้วางแผนไว้ • ฉะนั้น การคำนวณในเรื่อง อัตราการจ่ายเงินขั้นต่ำและการคำนวณดอกเบี้ยจากบัตรเครดิต เป็นความรู้ที่จำเป็นสำหรับบุคคล A.Penjira Kanthawongs

  17. Calculating Minimum Payments and Finance Charges • Minimum Payments (อัตราการจ่ายเงินคืนบัตรเครดิตขั้นต่ำ) โดยส่วนใหญ่คำนวณโดยบริษัทบัตรเครดิตโดยใช้โปรแกรมทางการเงินคล้ายๆ กับโปรแกรม Quicken • โดยทั่วไป อัตราดอกเบี้ยจากบัตรเครดิต จะมีอัตราสูงมาก ฉะนั้น การติดหนี้บริษัทบัตรเครดิตถือว่าเป็นสิ่งที่บุคคลไม่ควรกระทำเป็นอย่างยิ่งถ้าหากไม่จำเป็นจริงๆ A.Penjira Kanthawongs

  18. ดูหน้า 117 A.Penjira Kanthawongs

  19. Creating and Maintaining Personal Loans • Balloon Payment คือ เกิดขึ้นเมื่อการจ่ายเงินคืนเป็นงวดๆ ของผู้ยืมเงินยังไม่สามารถชำระเงินกู้คืนทั้งจำนวนได้ ผู้ยืมเงินจึงจ่ายเงินก้อนใหญ่ 1 ก้อนในตอนช่วงสุดท้ายของระยะเวลาชำระหนี้ • หน้า 122 รูปที่ 8-22 • Schedule Transaction ใช้เมื่อต้องการให้โปรแกรมใส่รายการให้โดยอัตโนมัติ • Memorized Transaction ใช้เมื่อต้องการบันทึกรายการด้วยตัวผู้ใช้เอง A.Penjira Kanthawongs

  20. หน้า 123 รูปที่ 8-23 • ไปที่หน้าจอ Loan ทำได้โดยไปที่ Household ที่ Menu bar | Loan สำหรับ V.2002 ไปที่ Property & Loan | Loan • Financial Charges และ ดอกเบี้ยจากเงินกู้ (Interest) ในตาราง Loan (เงินกู้) ถือเป็นค่าใช้จ่ายสำหรับบุคคล • ส่วนเงินต้นที่จ่ายคืนเงินกู้ (Principal Payment) ถือเป็นส่วนลดที่ต้องนำไปลบออกจากหนี้สินของบุคคล A.Penjira Kanthawongs

  21. หน้า 125 รูปที่ 8-28 • ไปดู Net Worth Graph Window ทำได้โดยไปที่ Report ที่ Menu bar | Own & Owe | Net Worth Graph • หน้า 125 รูปที่ 8-29 • ไปดู Income and Expense Graph Window ทำได้โดยไปที่ Report ที่ Menu bar | Spending | Income and Expense Graph • Graph อื่นๆ ไปดูให้เอกสารเพิ่มเติมที่เป็น MS Word และใช้โปรแกรมประกอบเอง A.Penjira Kanthawongs

  22. Chapter 9: Major Consumer Purchases • Personal Asset = ทรัพย์สินส่วนตัว จะมีมูลค่าลดลงเมื่อใช้ไปหรือเมื่อเวลาผ่านไป โดยจะเรียกการลดลงของมูลค่านี้ว่า Depreciates (การเสื่อมราคา) • Investment Asset = ทรัพย์สินจากการลงทุน จะมีมูลค่าเพิ่มขึ้นเมื่อเก็บไว้ในอนาคต โดยจะเรียกการเพิ่มขึ้นของมูลค่านี้ว่า Appreciates (การเพิ่มราคา) A.Penjira Kanthawongs

  23. ทรัพย์สินใดจะเป็น Personal Asset หรือ Investment Asset ขึ้นอยู่กับว่า เจ้าของคิดจะขายทรัพย์สินนั้นๆ ไปเพื่อนำเงินมาใช้ในความเป็นอยู่ในสถานการณ์ปกติหรือไม่ ถ้าหากไม่คิดจะขายทรัพย์สินนั้นๆ ไปในอนาคตทรัพย์สินนั้นๆ จะถือเป็น Personal Asset A.Penjira Kanthawongs

  24. ในการตัดสินใจซื้อทรัพย์สินที่มีมูลค่ามาก ผู้ซื้อควรพิจารณาปัจจัยต่อไปนี้ • พิจารณาว่าการซื้อทรัพย์สินครั้งนี้จะมีผลกระทบ Cash Flow (งบกระแสเงินสด) และ Budget (งบประมาณ) ของผู้ซื้ออย่างไร • พิจารณาว่าแหล่งเงินทุนที่จะนำมาซื้อทรัพย์สินนั้นจะมาจากที่ใด • พิจารณาผลกระทบกับ Net Worth (ส่วนของเจ้าของ หรือ ทุน) ของผู้ซื้อ ถ้าหากซื้อทรัพย์สินดังกล่าวนี้แล้ว • พิจารณาราคาทั้งหมดที่จะเกิดขึ้นในการซื้อทรัพย์สินนั้นแล้ว A.Penjira Kanthawongs

  25. Figure 9-8: ตารางเปรียบเทียบการซื้อรถ Honda รุ่นต่างๆ A.Penjira Kanthawongs

  26. Figure 9-6: ตารางเปรียบเทียบค่าเสื่อมราคารถ A.Penjira Kanthawongs

  27. Figure 9-9: ตารางเปรียบเทียบดอกเบี้ยในการกู้เงินซื้อรถ A.Penjira Kanthawongs

  28. Figure 9-10: ตารางเปรียบเทียบต้นทุนต่างๆของรถ A.Penjira Kanthawongs

  29. Figure 9-11: เปรียบเทียบระหว่างซื้อกับเช่าซื้อ A.Penjira Kanthawongs

More Related