1 / 20

การดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล กับการป้องกัน ควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง

การดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล กับการป้องกัน ควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง. โดย พญ. นิพรรณพร วร มงคล สำนักที่ปรึกษา กรม อนามัย. สถานการณ์. ประชากรไทย เสียชีวิตจากโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ปีละประมาณ 100,000 คน โดย ร้อยละ 40-60 พบในคนอายุต่ำกว่า 60 ปี

najwa
Download Presentation

การดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล กับการป้องกัน ควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล กับการป้องกัน ควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดย พญ.นิพรรณพร วรมงคล สำนักที่ปรึกษา กรมอนามัย

  2. สถานการณ์ • ประชากรไทย • เสียชีวิตจากโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ปีละประมาณ100,000 คน โดย ร้อยละ 40-60 พบในคนอายุต่ำกว่า 60 ปี • อัตราผู้ป่วยใน : แสน เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง จาก 1.6 เป็น 2.0 เท่า (ปี 2549 และ 2553)

  3. ผู้ป่วย/ตายด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังผู้ป่วย/ตายด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ที่มา : ข้อมูลโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง จากสำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค

  4. ปัจจัยเสี่ยง • บริโภคอาหารมากเกินพอดี ไม่ได้สัดส่วน ไม่สมดุลกับการออกแรง • กินหวาน มันเค็ม และกินผักผลไม้น้อย • ขาดการเคลื่อนไหวออกแรง/ออกกำลังกาย • มีความเครียด/พักผ่อนไม่เพียงพอ • สูบบุหรี่ ดื่มเครื่องดื่มมีแอลกอฮอล์ • ละเลยการตรวจสุขภาพ ภาวะน้ำหนักเกิน อ้วน อ้วนลงพุง เบาหวาน ความดันโลหิตสูง ไขมันในเลือดสูงเป็นโรคหัวใจและหลอดเลือด

  5. การดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล กับการป้องกัน ควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง การดำเนินงาน ชุมชน/คลินิกไร้พุง(DPAC) ระดับตำบล

  6. การดำเนินงานคลินิกDPAC ระดับตำบล เป้าประสงค์ ประชาชน มีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง เหมาะสม เพื่อการมีสุขภาพดี ลดเสี่ยง ลดโรคพฤติกรรมสุขภาพ กระบวนการ ส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพด้วยหลัก ๓ อ. ๒ ส.ในระดับตำบล

  7. ตัวชี้วัด/เป้าหมาย ตัวชี้วัด : ร้อยละสถานบริการสาธารณสุขในสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขมีการดำเนินงานคลินิกปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ (DPAC) ตามเกณฑ์การประเมินของกรมอนามัย เป้าหมาย : รพ.สต. ดำเนินงานคลินิก DPAC ร้อยละ 50 ของทุกอำเภอ

  8. รูปแบบ ประกอบด้วย3รูปแบบ 1.คลินิกบริการที่รพ.สต. 2.หน่วยบริการเคลื่อนที่ (Mobile) 3..ชุมชน/ภาคีเครือข่าย(Community Setting)

  9. 1.คลินิกบริการที่รพ.สต.(Clinic)1.คลินิกบริการที่รพ.สต.(Clinic) คัดกรอง/ประเมินความเสี่ยงพฤติกรรมสุขภาพ การกิน+การออกแรง/ออกกำลังกาย กลุ่มปกติ/เสี่ยง Pre – Hypertension , Pre –DM , รอบเอวเกิน , BMI เกิน กลุ่มเสี่ยงสูง พบแพทย์/รพ. ประเมินความพร้อม State of change สนใจ/เข้าร่วม 1.ตั้งเป้าหมาย 2.ให้ความรู้/จัดโปรแกรม -การออกกำลังกาย -อาหาร/โภชนาการ 3. นัดหมาย/ติดตาม ไม่เข้าร่วม -สร้างแรงจูงใจ -ให้องค์ความรู้ -สื่อเอกสาร การติดตาม

  10. 2. หน่วยบริการเคลื่อนที่ (Mobile) ทีม(TEAM) รพ.อำเภอ+รพ.สต.+อสม.+ชุมชุน+จิตอาศา นัดหมายชุมชนที่พร้อม กลุ่มที่สนใจเข้าร่วม ประเมินความเสี่ยง/ตรวจร่างกาย 1.ให้ความรู้/จัดโปรแกรม - การออกกำลังกาย - อาหาร/โภชนาการ - อารมณ์ 2.ตั้งเป้าหมาย นัดหมาย/ติดตาม 1-2 เดือน

  11. 3.ชุมชน/ภาคีเครือข่าย(Community Setting) • บริหารจัดการ ด้าน 3 อ. 2.ส. ในชุมชน โดยรพ.สต.และภาคีเครือข่าย • 1. สร้างบุคคลต้นแบบที่เป็นระดับผู้บริหารหรือผู้นำหน่วยงาน /ชุมชนและการให้รางวัล • 2. สร้างสิ่งแวดล้อมให้เอื้อต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ • อ.ออกกำลังกาย - การสร้างลานออกกำลังกาย/สวนสุขภาพ โดย อบต./เทศบาล • อ.อาหาร – การรณรงค์ปลูกผักทุกบ้าน/ชมรมผักปลอดสารพิษ • 3. อ.อารมณ์ +2 ส.(บุหรี่, สุรา,สิ่งเสพย์ติด) • - ผู้นำชุมชน/ผู้นำศาสนา/จิตอาสาเป็นแกนหลักในการขับเคลื่อน

  12. การดำเนินการ รพ.สต. ด้านอาหารและโภชนาการกับการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง • เผยแพร่ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการ และอาหารปลอดภัย ให้เจ้าหน้าที่ ประชาชน ผู้ป่วยและญาติ • จัดสภาพแวดล้อมให้เอื้อต่อการมีสุขภาพดีโดยแนะนำทางเลือกในการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ สะอาด ปลอดภัย • ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารให้เหมาะสม เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังโรคติดต่อทางเดินอาหาร • ให้ประชาชนตระหนัก นำองค์ความรู้ ไปปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและ เลือกการบริโภคอาหารลดหวาน มัน เค็ม ได้อย่างถูกต้อง

  13. กินอย่างไร ไม่ให้อ้วน ธงโภชนาการ คือ ภาพจำลองสัดส่วนอาหารที่แนะนำให้คนไทยบริโภคใน 1 วัน

  14. ตัวอย่างเมนูชูสุขภาพ อาหารสำรับ สำรับ 1 :ข้าวกล้อง แกงจืดเต้าหู้อ่อน ปลาลวก น้ำพริกปลาทูผักสด ส้มเขียวหวาน สำรับ 2 :ข้าวกล้อง ต้มยำปลา ยำผักกูด ปลาเปรี้ยวหวาน มะละกอสุก สำรับ 3 :ข้าวเหนียว ส้มตำ ไก่ย่าง แกงอ่อมปลา ฝรั่ง

  15. การกินอาหารเพื่อหลีกเลี่ยงโรคความดันโลหิตสูงและการดูแลตนเองการกินอาหารเพื่อหลีกเลี่ยงโรคความดันโลหิตสูงและการดูแลตนเอง • ลดความเค็มในอาหาร • - หลีกเลี่ยงอาหารรสจัด อาหารหมักดองรสเค็ม เช่น ไข่เค็ม ปลาร้า ปลาเจ่า ปูเค็ม ผักดอง เต้าหู้ยี้ เต้าเจี้ยว ตั้งฉ่าย เป็นต้น • - ลดการใช้เครื่องปรุงรสในอาหาร เช่น ซุปก้อน ผงปรุงรส น้ำปลา ซีอิ้ว เกลือ ซอสปรุงรส และผงชูรส เป็นต้น • หลีกเลี่ยงอาหารสำเร็จรูป อาหารกระป๋อง และผลิตภัณฑ์จาก • เนื้อสัตว์ที่ผ่านกระบวนการแปรรูป เช่น ไส้กรอก แฮม หมูยอ • กุนเชียง เป็นต้น เลือกกินอาหารที่สด ผ่านการปรุงใหม่แทน • ลดความถี่และปริมาณการกินอาหารทีมีน้ำจิ้ม เช่น น้ำจิ้มไก่ • น้ำจิ้มสุกี้ หมูกระทะ งดการกินพริกกับเกลือเมื่อกินผลไม้

  16. การกินอาหารเพื่อหลีกเลี่ยงโรคความดันโลหิตสูงและการดูแลตนเอง (ต่อ) • ปรุงอาหารด้วยเครื่องเทศ หรือสมุนไพร เพื่อเพิ่มกลิ่น • รสชาติ ความอยากอาหาร เมื่อต้องปรุงอาหารอ่อนเค็ม • เช่น ต้มยำ แกงเลียง แกงส้ม แกงป่า เป็นต้น • งดหรือลดอาหารที่มีไขมันมาก เช่น เนื้อสัตว์ไม่ติดมัน • อาหารทอด อาหารที่มีกะทิ เลือกใช้ ไขมันดีในการ • ประกอบอาหาร • งดบุหรี่ และเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ • ควรออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ ให้เหมาะสมกับวัย

  17. การกินอาหารเพื่อหลีกเลี่ยงโรคเบาหวานการกินอาหารเพื่อหลีกเลี่ยงโรคเบาหวาน และการดูแลตนเอง • ควบคุมอาหารและน้ำหนักตัวให้อยู่ในเกณฑ์ เพื่อให้ระดับน้ำตาลในเลือดอยู่ในภาวะปกติ และไม่ควรงดอาหารมื้อใดมื้อหนึ่ง • กินอาหารให้ครบ 3 มื้อ กินให้ตรงเวลา ควรปรึกษานักโภชนาการเกี่ยวกับปริมาณอาหารหรือสัดส่วนอาหารที่รับประทานได้ให้ถูกต้องตามหลักโภชนาการ • เลือกกินอาหารที่มีใยอาหารสูง เช่น ข้าวซ้อมมือ หรือธัญพืชที่ไม่ได้ขัดสี ผัก ผลไม้ที่ไม่หวานจัด ถั่วต่างๆ • หลีกเลี่ยงการกินอาหารหรือเครื่องดื่มที่มีน้ำตาลสูง ขนมหวาน ไอศกรีม และผลิตภัณฑ์ เบเกอรี่ต่างๆ • กินอาหารที่มีไขมันและคอเลสเตอรอลต่ำ เช่น เนื้อสัตว์ไม่ติดมัน อาหารทอด อาหารที่มีกะทิ เลือกใช้ไขมันดีในการประกอบอาหาร • หลีกเลี่ยงการดื่มที่มีแอลกอฮอล์ เพราะจะไปเพิ่มไขมันในเลือด

  18. การกินอาหารเพื่อหลีกเลี่ยงโรคเบาหวานและการดูแลตนเอง(ต่อ)การกินอาหารเพื่อหลีกเลี่ยงโรคเบาหวานและการดูแลตนเอง(ต่อ) • ควรพบแพทย์อย่างสม่ำเสมอ โดยรับประทานอาหาร ควบคู่ไปกับการรักษาด้วยยา • ควรออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ ให้เหมาะสมกับวัย • ลดความเครียดหรือวิตกกังวล ซึ่งสิ่งเหล่านี้มีผลต่อการ กระตุ้นการหลั่งฮอร์โมนที่จะไปขัดขวางการทำงานของอินซูลิน

  19. การติดตาม/ประเมินผล • ส่วนกลาง/ศูนย์อนามัยนิเทศติดตาม การดำเนินงานคลินิกDPAC • กระบวนการติดตามผู้เข้ารับบริการของชุมชน

  20. Thank you

More Related