1 / 45

ภิรมย์ ลูกตาก 1

2015 ASEAN and Thai Education. ภิรมย์ ลูกตาก 1. จุดมุ่งหมายของนโยบายรัฐบาล นโยบายรัฐบาลชุดนายกรัฐมนตรียิ่งลักษณ์ ชินวัตร มีจุดมุ่งหมาย 3 ประการ 1. นำประเทศไทยไปสู่โครงสร้างเศรษฐกิจที่สมดุล มีความเข้มแข็งของเศรษฐกิจภายในประเทศมากขึ้น 2. นำประเทศไทยสู่สังคมที่มีความปรองดองสมานฉันท์

Download Presentation

ภิรมย์ ลูกตาก 1

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. 2015 ASEAN and Thai Education ภิรมย์ ลูกตาก 1

  2. จุดมุ่งหมายของนโยบายรัฐบาลจุดมุ่งหมายของนโยบายรัฐบาล นโยบายรัฐบาลชุดนายกรัฐมนตรียิ่งลักษณ์ ชินวัตร มีจุดมุ่งหมาย 3 ประการ 1.นำประเทศไทยไปสู่โครงสร้างเศรษฐกิจที่สมดุล มีความเข้มแข็งของเศรษฐกิจภายในประเทศมากขึ้น 2.นำประเทศไทยสู่สังคมที่มีความปรองดองสมานฉันท์ 3.นำประเทศไทยไปสู่การเป็นประชาคมอาเซียนในปี 2558 อย่างสมบูรณ์

  3. อาเซียน (ASEAN) Association for South East AsianNations หรือ ประชาคมประชาชาติเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้

  4. ASEAN COUNTRIES Thailand Laos Vietnam Cambodia Malaysia Myanmar Brunei Philippine Indonesia Singapore

  5. สมาชิกอาเซียน: พม่า (สาขาผลิตภัณฑ์เกษตรและสาขาประมง), มาเลเซีย (สาขาผลิตภัณฑ์ยางและสาขาสิ่งทอ), อินโดนีเซีย (สาขายานยนต์และสาขาผลิตภัณฑ์ไม้), ฟิลิปปินส์ (สาขาอิเล็กทรอนิกส์), สิงคโปร์ (สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและสาขาสุขภาพ), ไทย (สาขาการท่องเที่ยวและสาขาการบิน)+3 : จีน เกาหลีใต้ ญี่ปุ่น และ +6 : ออสเตรเลีย อินเดีย นิวซีแลนด์ (บวกสาม แล้วบวกอีกสาม)

  6. THE ASEAN CHARTER Association of Southeast Asian Nations

  7. อัตลักษณ์ของอาเซียน อาเซียนต้องส่งเสริมอัตลักษณ์ร่วมกันของตนและความรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งในหมู่ประชาชนของตน เพื่อให้บรรลุชะตา เป้าหมาย และคุณค่าร่วมกันของอาเซียน

  8. คำขวัญของอาเซียน วิสัยทัศน์เดียว อัตลักษณ์เดียว ประชาคมเดียว

  9. ASEAN External Relations ASEAN Centrality ASEAN+3 ASEAN EAS (ASEAN+6) ASEAN at the Centre

  10. ASEAN ก่อตั้งโดยปฏิญญากรุงเทพ (Bangkok Declaration) เมื่อ 8 สิงหาคม 1967 (พ.ศ. 2510)

  11. สาขาความร่วมมือของอาเซียนสาขาความร่วมมือของอาเซียน ด้านการเมืองและความมั่นคง ด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคมและวัฒนธรรม ความสัมพันธ์และความร่วมมือกับประเทศภายนอก

  12. ประชาคมอาเซียน 3 เสาหลัก ประชาคมความมั่นคงอาเซียน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ประชาคมสังคมและวัฒนธรรม

  13. การศึกษาจะเป็นกลไกสำคัญการศึกษาจะเป็นกลไกสำคัญ ในการขับเคลื่อนทั้ง 3 เสาหลัก เสาการเมือง ความมั่นคง เสาสังคม วัฒนธรรม เสาเศรษฐกิจ

  14. เราจะเตรียมคนอย่างไร โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เด็กและเยาวชนไทย เพื่อสู่ประชาคมอาเซียน ในปี 2558

  15. โครงสร้างประชากรประเทศไทยโครงสร้างประชากรประเทศไทย ชาย หญิง ชาย หญิง 2563 2543

  16. แผนงานจัดตั้งประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียนแผนงานจัดตั้งประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (A Blueprint for ASEAN Social-Cultural Community)

  17. เส้นทางการคมนาคมไร้พรมแดนเส้นทางการคมนาคมไร้พรมแดน • เส้นทางขนถ่ายสินค้า และการคมนาคม สะดวก รวดเร็ว ประหยัด

  18. เส้นทาง “ระเบียงเศรษฐกิจหนานหนิง-กรุงเทพฯ” (R9)ระยะทางประมาณ 1,900 กว่ากิโลเมตรรายละเอียดเส้นทางเริ่มต้นจากนครหนานหนิง -– กรุงฮานอย (ถนนหมายเลข 1) จ. กวางบิงห์ (ถนนหมายเลข 9) – ด่านสะหวันนะเขต – ด่านมุกดาหาร – จ.ขอนแก่น – กทม. เราเตรียมอะไรให้เด็ก

  19. ระเบียงเศรษฐกิจตะวันออก-ตะวันตกEast – West Economic Corridor

  20. เราเตรียมอะไรให้เด็กแล้วบ้าง?เราเตรียมอะไรให้เด็กแล้วบ้าง?

  21. เด็กไทยจะต้องรู้กี่ภาษาจึงอยู่รอดได้ในโลกวันนี้เด็กไทยจะต้องรู้กี่ภาษาจึงอยู่รอดได้ในโลกวันนี้

  22. เราเตรียมอะไรให้เด็กแล้วบ้าง?เราเตรียมอะไรให้เด็กแล้วบ้าง?

  23. แผนที่เส้นทางไฮสปีดเทรน คุนหมิง-สิงคโปร์

  24. การเคลื่อนย้ายผู้ประกอบวิชาชีพชั้นสูง ในปี 2558 ตามข้อตกลงยอมรับร่วมกัน (Mutual Recognition Agreements: MRAs) • แพทย์ • วิศวกรรม • พยาบาล • ทันตแพทย์ • สถาปัตยกรรม • นักบัญชี • การสำรวจ

  25. กรอบแนวคิด ทิศทางโลก คนไทยที่ควรจะเป็น ASEAN Community ณ ปัจจุบัน การจัดการศึกษารองรับการเป็นประชาคมอาเซียน ทิศทางประเทศไทย ทิศทางอาเซียน หลักสูตร/โครงสร้าง ในระบบ การจัดการศึกษาไทยในปัจจุบัน • มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับอาเซียน ประชาคมอาเซียน ในทุกมิติ • มีศักยภาพทั้งในด้านความรู้ทางวิชาการ วิชาชีพ และภาษาอังกฤษ/ภาษาอาเซียน เทคโนโลยีสารสนเทศ • มีระบบคิดแบบสมานฉันท์ โดยไม่ลืมรากเหง้าความเป็นไทย: รู้จักความหลากหลายและอยู่ร่วมกับความหลากหลายอย่างสมานฉันท์ นอกระบบ การเตรียมความพร้อมด้านการศึกษาของปท. ในอาเซียน ความสัมพันธ์ไทยกับปท. อาเซียน

  26. โจทย์ของการจัดการศึกษาโจทย์ของการจัดการศึกษา  คนไทยที่พึงประสงค์ ในยุค “อาเซียน” การจัดการศึกษาเพื่อเตรียมรับมือ “ประชาคมอาเซียน”  การสร้างความรู้ความเข้าใจในเรื่อง“อาเซียน” ในสังคมไทย ควรเป็นอย่างไร ใช้เครื่องมือใด เพื่อเตรียมพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน   การเสริมสร้างรากเหง้าความเป็นไทยในยุค“อาเซียน” เพื่อการอยู่อย่างสมานฉันท์ และไม่ลืมรากเหง้า

  27. กระทรวงศึกษาธิการกับการเตรียมกระทรวงศึกษาธิการกับการเตรียม ความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน มีคณะกรรมการระดับชาติเพื่อขับเคลื่อนความร่วมมือ ด้านการศึกษาในอาเซียนสู่การบรรลุเป้าหมายการจัดตั้งประชาคมอาเซียน ภายในปี 2558 โดยมี รมว.ศธ.เป็นประธาน

  28. โดยเน้น... • เผยแพร่ความรู้ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับอาเซียน เพื่อสร้างความตระหนัก และเตรียมความพร้อมครู อาจารย์ บุคลากรทางการศึกษา นักเรียน และประชาชน การพัฒนาศักยภาพ นักศึกษา นักเรียน และประชาชน ให้มีทักษะเตรียมความพร้อม เช่น ภาษาอังกฤษ และภาษาเพื่อนบ้าน

  29. โดยเน้น... พัฒนามาตรฐานการศึกษา เพื่อส่งเสริมการหมุนเวียนของนักศึกษาและครูในอาเซียน ยอมรับคุณสมบัติร่วมกับ และส่งเสริม Education Hub การเตรียมความพร้อม เพื่อเปิดเสรีการศึกษาในอาเซียน การพัฒนาเยาวชน เพื่อเป็นทรัพยากรในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน

  30. ทัศนคติและความตระหนักรู้เพื่อก้าวไปสู่ “อาเซียน”บทสรุปข้อค้นพบจากการสำรวจข้อมูลประเทศสมาชิกอาเซียนทั้งสิบ สำรวจนักศึกษาจำนวน 2,170คน จากมหาวิทยาลัยชั้นนำในประเทศสมาชิกอาเซียนทั้งสิบ

  31. ผม/ฉันรู้สึกว่าตนเองเป็นพลเมืองอาเซียน (I feel that I am a citizen of ASEAN)

  32. ถาม ความรู้เกี่ยวกับอาเซียน รู้จักธงอาเซียน รู้ว่าอาเซียนก่อตั้งเมื่อใด

  33. คุณรู้เกี่ยวกับอาเซียนจาก …..

  34. การศึกษาขั้นพื้นฐาน • กำหนดภาพเด็กไทย ใน ASEAN • Education Hub school (14 โรง) • Spirit Of ASEAN - Sister/partner school (30 โรง) - Buffer school (24 โรง) (มีเครือข่าย มากกว่า 500 โรง) • ASEAN Focus School (14 โรง) • Connecting classroom : พัฒนาการเรียนการสอนร่วมกับประเทศอาเซียน และประเทศอื่นๆ

  35. จุดเน้นของการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานสู่ประชาคมอาเซียนจุดเน้นของการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานสู่ประชาคมอาเซียน • Link with member countries school (Connecting Classroom) • School Curriculum that focuses on English, ASEAN Language, ICT for Learning, Multi-Culture Community, etc • Design & Implement Global Issues/Learning with partner school • School Curriculum that goes beyond it’s boundary • Member Countries Language • Multi-Cultural living

  36. การศึกษาขั้นพื้นฐานกับการเตรียมสู่ASEANการศึกษาขั้นพื้นฐานกับการเตรียมสู่ASEAN • แนวทางการบริหารการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน • แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน สำหรับประถมศึกษา • แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน สำหรับมัธยมศึกษา • แนวทางการจัดค่ายอาเซียน

  37. การจัดค่ายอาเซียน วันที่ 11-18 ธันวาคม 2553 ผู้แทนประเทศเข้าคารวะ ท่าน รมว.ศธ

  38. ระดับอาชีวศึกษา 2. พัฒนาขีดความสามารถด้านภาษาอังกฤษให้นักศึกษาอาชีวะ 1. พัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะ ให้สอดคล้องกับคุณวุฒิวิชาชีพอาเซียน เพื่อรองรับการเคลื่อนตัวของแรงงานฝีมือ 3. เตรียมการเปิดหลักสูตรนานาชาติและหลักสูตร 2 ภาษา (English Program) เพื่อรองรับประชาคมอาเซียน

  39. ระดับอุดมศึกษา • 2. มหาวิทยาลัยจัดตั้งศูนย์เกี่ยวกับ ASEAN อาทิ • มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ เปิดศูนย์เตรียมความพร้อมสู่ประชาประชาคม อาเซียน • จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เปิด ศูนย์อาเซียนศึกษา • มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา และมหาวิยาลัยสุราษฎธานี เปิดศูนย์การอบรมการท่องเที่ยวเพื่อประชาคมอาเซียน • มหาวิทยาลัยมหิดล จัดตั้งสถาบันพัฒนาการสาธารณสุขอาเซียน 1. AUN (Asean University Network) ซึ่งประเทศไทยเป็นสำนักงานเลขาธิการ

  40. อีก 4 ปีที่เหลือ จังหวัดของท่านจะดำเนินการเตรียมคนทุกระดับอย่างไร ? จังหวัดของท่านจะมีผลกระทบอย่างไรจากการเป็นประชาคมอาเซียน ? จัดการศึกษา/ให้ความรู้อย่างไร ด้วยวิธีการใด ? เมื่อเป็นอาเซียนแล้ว ความเป็นไทยและท้องถิ่นจะเข้มแข็งได้อย่างไร ?

  41. หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน • จะให้มหาวิทยาลัย สพฐ. สกอ.ได้หา ข้อสรุปในการจัดการศึกษาร่วมกัน มหาวิทยาลัยจะลงไปจัดทำหลักสูตรและช่วยสอนในมัธยมฯซึ่งจะทำให้เด็กได้เรียนหลักสูตรเดียวกับมหาวิทยาลัยตั้งแต่มัธยมฯ จะมีการปรับหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานให้แบ่งตามกลุ่มอัจฉริยภาพของเด็ก ให้สอดคล้องกับสภาพเศรษฐกิจและสังคม 5 กลุ่ม ได้แก่ 1) เกษตรกรรม 2) อุตสาหกรรม 3) พาณิชยกรรม 4) วิชาการ 5) ความคิดสร้างสรรค์

  42. นักวิชาการ ย้ำปฏิรูปการศึกษาล้มเหลว • อดีตเลขาธิการคณะกรรมการ การ อุดมศึกษา (กกอ.) การปฏิรูปการศึกษา 10 ปีที่ผ่านมาล้มเหลว และยังไม่มีใครรู้ว่าเป้าหมายของการ ปฏิรูปการศึกษาคืออะไร แต่ที่เห็นเป็นรูปธรรมที่สุดจากการปฏิรูปคือ โครงสร้าง แต่โครงสร้างที่ปรับเปลี่ยนนั้นกลับมีปัญหา จนปัจจุบันต้องกลับไปสู่รูปแบบเดิม เช่น การแยกเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา และเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา การกระจายอำนาจที่ยังไม่เป็นระบบ ที่สำคัญการนำทบวงมหาวิทยาลัยมารวมกับกระทรวงศึกษาธิการ ก็ถือว่าผิดพลาดมหันต์ เพราะยิ่งทำให้การบริหารงานไม่มีความคล่องตัว ดังนั้นตนคิดว่าน่าจะแยกสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ออกจาก ศธ. โดยอาจจะแยกเป็นกระทรวง และเพิ่มภาระงานด้านวิจัยให้มากขึ้น เพราะถือเป็นงานหลักของอุดมศึกษา

  43. ASEAN THANK YOU

More Related