1 / 16

Cognitive Behavioral Therapy (CBT)

Cognitive Behavioral Therapy (CBT). in Amphetamine Abuse Treatment Programme Somchart Suthikarn M.D. Child & Adolescent Psychiatrist. แนวคิดจิตบำบัดที่สำคัญ ในโปรแกรมการบำบัด เด็กและเยาวชนกระทำผิด ใช้สารเสพติด.

mervyn
Download Presentation

Cognitive Behavioral Therapy (CBT)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Cognitive Behavioral Therapy(CBT) in Amphetamine Abuse Treatment Programme Somchart Suthikarn M.D. Child & Adolescent Psychiatrist

  2. แนวคิดจิตบำบัดที่สำคัญในโปรแกรมการบำบัดเด็กและเยาวชนกระทำผิด ใช้สารเสพติด • การเรียนรู้  ปรับอารมณ์ เปลี่ยนความคิด(ทัศนคติ)  เปลี่ยนพฤติกรรม  Cognitive Approach จัดการกับความคิด  Behavioral Approach ฝึกแก้ไขพฤติกรรม เป็นแบบอย่าง

  3. งานวิจัยพบว่า ทักษะที่เรียนรู้เกี่ยวกับการป้องกันการกลับไป เสพยาซ้ำ (Relapse prevention) ยังคงอยู่ ในผู้รับการบำบัด หลังจากครบการรักษาแล้ว โดยใช้เทคนิคของการปรับความคิดและพฤติกรรม (Cognitive Behavior Therapy) ช่วยให้ผู้เรียนรู้แยกแยะพฤติกรรม ที่เป็นปัญหาและแก้ไขได้และส่งเสริมให้เกิดการควบคุมตนเอง

  4. สีแดง แสดงบริเวณสมองที่ถูกกระตุ้นในผู้ติดยาเมื่อเกิดความรู้สึกอยากยา (Craving)

  5. ผลการบำบัดด้วย COGNITIVE BEHAVIOR THERAPY ตัวอย่างผู้ป่วย Miss A

  6. ผลการบำบัดด้วย COGNITIVE BEHAVIOR THERAPY ตัวอย่างผู้ป่วย Miss B

  7. Matrix Treatment Philosophy กุญแจสำคัญที่มีผลต่อความสำเร็จของการบำบัด คือ 1. การให้กำลังใจจากผู้ให้การบำบัด 2. การมีส่วนร่วมในกลุ่มบำบัด 3. การให้ความรู้เกี่ยวกับการป้องกันการกลับไปเสพซ้ำ 4.ความมีส่วนร่วมของครอบครัว 5. โครงสร้างของโปรแกรมบำบัดที่เหมาะกับผู้ป่วย

  8. จิตวิทยาการให้คำปรึกษาจิตวิทยาการให้คำปรึกษา • ยอมรับและเข้าใจธรรมชาติของผู้ติดสารเสพติด(กลไกทางจิต) • เข้าใจปัญหาของเด็ก เยาวชน และครอบครัว • สร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับครอบครัว • สร้างแรงจูงใจช่วยให้เห็นปัญหา(Motivational Interview) • ให้กำลังใจ ไม่สิ้นหวัง

  9. รูปแบบการให้คำปรึกษา • Individual • Family • Group

  10. เทคนิคการสัมภาษณ์ • คุยเรื่องทั่วไป ที่เยาวชนสนใจ ลดความกังวล • เชื่อมโยงด้วยประวัติเชิงคู่ขนาน( parallel chronological of event)มากกว่าถามตรงๆ( linear History) • ท่าทีที่เป็นกลาง รับฟัง ไม่ตัดสิน ไม่โต้เถียง • ลดความรู้สึกผิดไม่กล่าวโทษเยาวชน ญาติ • คำถามปลายเปิด(openquestion) สื่อสารสองทาง(2-way) • เสนอทางออก บอกทางเลือกให้คิดถึงข้อดี ข้อเสีย(pros & cons) • ช่วยให้รู้จักวิธีคิด วิเคราะห์เหตุการณ์ ( A B C )

  11. รู้จักคิดและวิเคราะห์ A B C A = ACTIVATING EXPERIENCE (ตัวกระตุ้น) B = BELIEF & BEHAVIOR (ความเชื่อ , พฤติกรรมแสดงออก) C = CONSEQUENCE (ผลกระทบที่เกิดขึ้น)

  12. เทคนิคของการปรับความคิดพฤติกรรมและอารมณ์เทคนิคของการปรับความคิดพฤติกรรมและอารมณ์ ในเด็กและวัยรุ่น (10 – 17 ปี) หัวข้อสำคัญ 1. มุมมองต่อปัญหา 2. ผลกระทบที่เกิดขึ้น 3. รู้จักตนเอง 4.รู้จักตัวกระตุ้น 5. รู้จักอารมณ์โกรธ 6. การพูดกับตัวเองในใจ

  13. ทักษะที่สำคัญสำหรับเด็กและเยาวชนทักษะที่สำคัญสำหรับเด็กและเยาวชน • ทักษะการจัดการกับความโกรธ • ทักษะการจัดการกับความเครียด • ทักษะการสื่อสาร • ทักษะการปฏิเสธ

  14. วัตถุประสงค์ของการให้คำปรึกษาครอบครัววัตถุประสงค์ของการให้คำปรึกษาครอบครัว • เข้าใจพฤติกรรมที่นำมาสู่เหตุการณ์วิกฤต • ลดความขัดแย้งภายในครอบครัว • เข้าใจเทคนิคการปรับพฤติกรรม • การแก้ไขปัญหาด้วยเหตุผล • จัดการกับความเครียดและอารมณ์โกรธ • ทักษะการสื่อสารที่ดี • การฝึกความรับผิดชอบ และให้คำชม

  15. การพัฒนาบทบาทของครอบครัวการพัฒนาบทบาทของครอบครัว 1. ทักษะการสื่อสาร 2. การให้ความเอาใจใส่ 3. พัฒนาความรู้สึกที่ดีต่อตนเอง 4. การควบคุมตนเอง 5. ฝึกความรับผิดชอบ 6. ฝึกการพึ่งพาตนเองให้มากขึ้น

  16. ข อ บ คุ ณ แ ล ะ ส วั ส ดี

More Related