1 / 78

นาย สิปป นนท์ วงชัยเพ็ง ครู คศ. 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนปทุมวิไล

นาย สิปป นนท์ วงชัยเพ็ง ครู คศ. 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนปทุมวิไล อำเภอเมือง จังหวัดปทุมธานี สำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1.

maya-petty
Download Presentation

นาย สิปป นนท์ วงชัยเพ็ง ครู คศ. 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนปทุมวิไล

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. นายสิปปนนท์ วงชัยเพ็ง ครู คศ.1 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนปทุมวิไล อำเภอเมือง จังหวัดปทุมธานี สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1

  2. งานในทางฟิสิกส์ เป็นผลจากการออกแรงกระทำต่อวัตถุแล้วทำให้วัตถุเคลื่อนที่ตามแนวแรงนั้น ดังนั้นขนาดของงานที่ได้จะหาได้จากผลคูณระหว่างแรงที่กระทำกับระยะที่วัตถุเคลื่อนที่ได้( ระยะทางขนานกับแรง ) และเป็นปริมาณสเกลาร์ มีหน่วยเป็น นิวตัน.เมตร ( N.m )หรือ จูล ( J ) กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างแรงกับระยะการกระจัดบอกให้ทราบขนาดของงานจากพื้นที่ใต้กราฟ กำลัง คือ อัตราการทำงาน และเป็นปริมาณสเกลาร์ มีหน่วยเป็นวัตต์ ( W ) พลังงาน ความสามารถในการทำงาน ที่จะทำให้วัตถุนั้นเกิดการเปลี่ยนแปลง เช่น พลังงานกล พลังงานแสง และพลังงานนิวเคลียร์ เป็นต้น พลังงานกลเป็นพลังงานที่เกิดจากผลของแรงทำให้พร้อมจะเปลี่ยนสภาพการเคลื่อนที่ หรือเปลี่ยนสภาพการเคลื่อนที่ มีอยู่ 2 ชนิด คือ พลังงานจลน์ และพลังงานศักย์ พลังงานจลน์ที่อยู่ในวัตถุที่กำลังเคลื่อนที่ ขึ้นอยู่กับมวลและขนาดของความเร็วของวัตถุ

  3. พลังงานศักย์จะสะสมอยู่ในวัตถุที่พร้อมจะเคลื่อนที่หรือพร้อมจะทำงานและพลังงานศักย์ที่ขึ้นกับตำแหน่งในสนามโน้มถ่วง เรียก พลังงานศักย์โน้มถ่วง พลังงานศักย์ยืดหยุ่น คือ พลังงานที่สะสมอยู่ในสปริงที่ทำให้สปริงยืดออกหรือหดเข้าจากตำแหน่งสมดุล “ พลังงานในระบบ จะไม่สูญหาย แต่พลังงานสามารถที่จะเปลี่ยนรูปได้ ดังนั้นพลังงานของระบบหนึ่งจะมีค่าคงที่” เราเรียกหลักการนี้ว่า การอนุรักษ์พลังงาน ดังนั้นในเครื่องกลใดๆ ที่นำมาใช้งาน แล้วงานที่ได้ จากการทำงานไปนั้น ไม่เท่าเดิม เป็นผลสืบเนื่องมาจาก การเปลี่ยนรูปไปเป็นพลังงานรูปอื่น เมื่อรวมพลังงานนั้นแล้วก็จะเป็นไปตามกฎการอนุรักษ์พลังงาน ในเครื่องกลใดๆ ที่นำมาใช้งาน แล้วงานที่ได้ จากการทำงานไปนั้น ไม่เท่าเดิม เป็นผลสืบเนื่องมาจาก การเปลี่ยนรูปไปเป็นพลังงานรูปอื่น เมื่อรวมพลังงานนั้นแล้วก็จะเป็นไปตามกฎการอนุรักษ์พลังงาน ประสิทธิภาพของเครื่องกลจะมีค่ามากหรือน้อยจึงขึ้นอยู่กับว่า มีการสูญเสียไปเป็นพลังงานในรูปอื่นมากน้อยต่างกันอย่างไร ถ้าสูญเสียไปเป็นพลังงานรูปอื่นที่เราไม่ต้องการมาก แสดงว่าประสิทธิภาพของเครื่องกลก็จะต่ำ

  4. สำรวจตรวจสอบ อธิบาย และคำนวณเกี่ยวกับงานและกำลัง • สำรวจตรวจสอบ อภิปราย และคำนวณเกี่ยวกับพลังงาน ความสัมพันธ์ระหว่างงานและพลังงาน • สืบค้นข้อมูล และอธิบายเกี่ยวกับกฎการอนุรักษ์พลังงาน เครื่องกลและรวม ไปถึงกฎการอนุรักษ์พลังงานรูปอื่น

  5. บอกความแตกต่างของความหมายของงานในชีวิตประจำวัน กับงานในวิชาฟิสิกส์ได้ • บอกความสัมพันธ์ของแรงกับงานได้ • บอกได้ว่างานเป็นปริมาณเกลาร์ และมีหน่วยเป็นจูล • บอกความหมายของงานของแรงที่เป็นบวกและงานของแรงที่เป็นลบได้ • คำนวณหางานของแรงที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของวัตถุในแนวตรงเมื่อกำหนดแรง และการกระจัดของวัตถุ ทั้งกรณีที่อยู่ในแนวเดียวกันและทำมุมต่าง ๆ • คำนวณหางานโดยพื้นที่ใต้กราฟ • บอกความหมายของกำลังและคำนวณหากำลังงานได้

  6. บอกความหมายของพลังงานจลน์ได้บอกความหมายของพลังงานจลน์ได้ • บอกความสัมพันธ์ของงานกับพลังงานจลน์ และคำนวณหาปริมาณต่างๆ ที่เกี่ยวข้องได้ • บอกความหมายของพลังงานศักย์โน้มถ่วงได้ • บอกความสัมพันธ์ระหว่างงานกับพลังงานศักย์โน้มถ่วงได้ • บอกความหมายของพลังงานศักย์ยืดหยุ่นได้ • บอกความสัมพันธ์ระหว่างงานกับพลังงานศักย์ยืดหยุ่นได้

  7. บอกความหมายของกฎการอนุรักษ์พลังงานได้ • นำกฎการอนุรักษ์พลังงานไปอธิบายการเคลื่อนที่ในลักษณะต่างๆ ได้ • นำหลักการประหยัดพลังงานไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ • นำหลักการเรื่องพลังงานไปอธิบายเรื่องเครื่องกล ประสิทธิภาพของเครื่องกล • บอกความหมายของแหล่งพลังงานและการใช้พลังงานอย่างประหยัด

  8. งาน • การหางานโดยวิธีการคำนวณจากพื้นที่ใต้กราฟระหว่างแรงที่กระทำต่อวัตถุและการกระจัดของวัตถุ • กำลัง • พลังงาน • พลังงานจลน์ • ความสัมพันธ์ของงานกับพลังงานจลน์ • พลังงานศักย์โน้มถ่วง • พลังงานศักย์ยืดหยุ่น • กฎการอนุรักษ์พลังงาน • เครื่องกล

  9. กวิยา เนาวประทีป (2548). เทคนิคการเรียนฟิสิกส์ งานและพลังงาน. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ ฟิสิกส์เซนเตอร์. ช่วง ทมทิตชงค์และคณะ. (2540). คู่มือเตรียมสอบฟิสิกส์ 2 ว 026. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ธีรพงษ์การพิมพ์. ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, สถาบัน. (2547). หนังสือเรียน สาระการเรียนรู้พื้นฐานและเพิ่มเติม ฟิสิกส์ เล่ม 1. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว. ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, สถาบัน. (2544). หนังสือเรียน วิชาฟิสิกส์ 1 ว 422. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว. ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, สถาบัน. (2543). หนังสือเรียน วิชาฟิสิกส์ 2 ว 026. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว.

  10. งานและพลังงาน (Work and Energy) Enter

  11. 1 of 12 งาน หมายถึงผลของการออกแรงกระทำต่อวัตถุแล้วทำให้วัตถุเคลื่อนที่ตามแนวแรงมีหน่วยเป็นจูล( J ) จะได้ W = F. s เมื่อ W = งานที่ทำได้ มีหน่วยเป็นจูล ( J ) F = แรงที่กระทำต่อวัตถุ มีหน่วยเป็นนิวตัน ( N ) S = ระยะทางที่วัตถุเคลื่อนที่ได้ มีหน่วยเป็นเมตร ( m )

  12. ทิศทางการเคลื่อนที่ F S 2 of 12 กรณีที่ 1 งานที่ทำคือ W = F. S

  13. 3 of 12 ทิศทางการเคลื่อนที่ F  S กรณีที่ 2 งานที่ทำคือ W = Fcos. S W = FScos

  14. F ทิศทางการเคลื่อนที่ S S 4 of 12 กรณีที่ 3 งานที่ทำคือ W = 0

  15. 5 of 12 ทิศทางการเคลื่อนที่ F S กรณีที่ 4 งานที่ทำคือ W = มีค่าติดลบ

  16. 6 of 12 ตัวอย่างการคำนวณ ตัวอย่างที่ 1 ชายคนหนึ่งหิ้วถังน้ำหนัก 200 นิวตัน เคลื่อนที่ไปบนพื้นราบได้ระยะทาง 10 เมตร จงหางานในการหิ้วถังน้ำ

  17. 7 of 12 เฉลย งานในทางฟิสิกส์นั้น วัตถุต้องเคลื่อนที่ตามแนวแรงที่กระทำต่อวัตถุ จากรูปจะเห็นว่าถังน้ำจะอยู่นิ่ง เมื่อออกแรง ( F ) หิ้วถัง แต่ระยะทาง 10 เมตรเป็นผลจากแรงเดิน ดังนั้น งานในการหิ้วถังน้ำจึงเป็นศูนย์ พิสูจน์จากการคำนวณ ได้ดังนี้ จาก W = ( Fcos90 ) ( S ) = ( 200 )( 0 ) ( 10 ) = 0

  18. ชายหนุ่มผลักหนังสือมวล 20 กิโลกรัม โดยออกแรงทั้งหมด 50 นิวตัน และลังหนังสือเคลื่อนไปได้ 5 เมตร ชายหนุ่มทำงานได้กี่จูล Section 1 Title ตัวอย่างที่ 2 10 of 12

  19. Section 1 Title โจทย์กำหนด แรง = 50 นิวตัน การกระจัด = 5 เมตร โจทย์ถามงาน (มวลของลังไม่เกี่ยวข้อง) จาก W = FxS) = ( 50 )( 5 ) = 250 จูล เฉลย 10 of 12

  20. F 3 m 4 m ตัวอย่างที่ 3 Section 1 Title ชายคนหนึ่งดึงวัตถุหนัก 5 N เคลื่อนที่บนพื้นเอียงที่มีแรงเสียดทานน้อยมาก ดังรูป จงหางานที่ทำ 8 of 12

  21. เฉลย Section 1 Title 1. นักเรียนต้องหาแรง ( F ) ที่ทำให้วัตถุเคลื่อนที่ไปตามพื้นเอียงมีค่าเท่าไร 2. แรงเสียดทานน้อยมาก  f = 0 3. ระยะทางที่วัตถุเคลื่อนที่ได้ตามแนวแรงคือ 5 เมตร จาก W = F. S W = F ( 5 ) ………. ( 1 ) หา F ที่ทำให้วัตถุเคลื่อนที่ จะได้ F = mgsin ,( แรงซ้าย = แรงขวา ) แทนค่า F ใน ( 1 ) W = ( mgsin ) ( 5 ) = ( 5 ) ( 3/5 ) ( 5 ) = 15 J 9 of 12

  22. การหางาน ด้วยวิธีคำนวณจากพื้นที่ใต้กราฟ เนื่องจากงาน เป็นผลของแรงที่กระทำต่อวัตถุแล้วทำให้วัตถุเคลื่อนที่ตามแนวแรง W = F. S ดังนั้น งาน(W)จะขึ้นอยู่กับ แรง(F)และ ระยะทาง (S)ที่วัตถุเคลื่อนที่ได้ตามแนวแรง 1 of 8

  23. กราฟที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่างแรง ( F ) และการขจัด ( S ) จะบอกให้ทราบขนาดของงานที่ทำโดยพิจารณาจากพื้นที่ใต้กราฟดังนี้ 2 of 8

  24. F (N) S (m) 1. เมื่อมีแรงขนาดคงตัว งานที่ทำ = พื้นที่สี่เหลี่ยมใต้กราฟ 3 of 8

  25. F (N) S (m) 2. เมื่อแรงมีขนาดเพิ่มขึ้นอย่างคงตัว งานที่ทำ = พื้นที่สามเหลี่ยมใต้กราฟ 4 of 8

  26. F (N) S (m) 3. แรงมีขนาดเปลี่ยนแปลงกับเวลา งานที่ทำ = งานที่ทำ = หรือ งานที่ทำ = แรงเฉลี่ย x การกระจัด 5 of 8

  27. F (N) 10 (1) (3) (2) S (m) 5 25 60 0 ตัวอย่าง จงหางานเนื่องจากความสัมพันธ์ระหว่างแรงกับการกระจัดดังรูป 6 of 8?

  28. เฉลย งานที่ทำ = พ.ท.ใต้กราฟ = พ.ท.สี่เหลี่ยมคางหมู = ½( ผลบวกของด้านคู่ขนาน)(สูง) = ½( 60 +20 ) ( 10 ) งานที่ทำ = 400 จูล 7 of 8

  29. Code: 2.6 หรือ หาจาก งานที่ทำ = พื้นที่ใต้กราฟ = พ.ท. (1) + พ.ท. (2) + พ.ท. ( 3 ) = ½( 5 )(10) + (20)(10) + ½(35)(10) = 25 + 200 + 175 งานที่ทำ = 400 จูล 8 of 8

  30. กำลัง (Power) กำลัง คือ ปริมาณงานที่ทำได้ในหนึ่งหน่วยเวลามีหน่วยเป็น วัตต์ ( Watt ) 1 of 8

  31. Code: 3.2 เมื่อ P คือ กำลังมีหน่วยเป็นวัตต์ ( Watt ) W คือ งานที่ทำได้มีหน่วยเป็นจูล ( J ) t คือช่วงเวลาที่ใช้มีหน่วยเป็นวินาที ( s ) 2 of 8

  32. Code: 3.3 ในกรณีที่วัตถุเคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงที่ เนื่องจาก แรง F กำลังที่ใช้คือ Section 3 Title 3 of 8

  33. Code: 3.4 เมื่อ P คือ กำลังมีหน่วยเป็นวัตต์ (Watt) F คือ แรงที่ทำมีหน่วยเป็นนิวตัน (N) v คือ ความเร็วเฉลี่ยมีหน่วยเป็นเมตร ต่อวินาที (m/s) 4 of 8

  34. ตัวอย่างที่ 1 นักกายกรรมหนัก 750 นิวตัน ไต่เชือกขึ้นสูง 5 เมตร ในเวลา 25 วินาที กำลังที่เขาใช้เป็นกี่วัตต์ 5 of 8

  35. Code: 3.6 เฉลย จาก เมื่อ W = F.s = mg.s = ( 750 )(5) = 3750 J 6 of 8

  36. ตัวอย่างที่ 2 เครื่องยนต์ของเรือลำหนึ่งมีกำลัง 3 กิโลวัตต์ สามารถทำให้เรือแล่นได้ด้วยอัตราเร็วคงตัว 9 กิโลเมตรต่อชั่วโมง จงหาแรงจากเครื่องยนต์ที่ทำให้เรือลำนี้แล่น 7 of 8

  37. เฉลย จาก 8 of 8

  38. พลังงานและพลังงานจลน์พลังงานและพลังงานจลน์ พลังงาน ( Energy ) ในวิชาฟิสิกส์กำหนดว่า พลังงานเป็นสมบัติอย่างหนึ่งของระบบ ที่บ่งถึงขีดความสามารถในการทำงาน พลังงานมีหลายรูปแบบ เช่น พลังงานกล พลังงานเคมี พลังงานแผ่รังสี พลังงานไฟฟ้า พลังงานนิวเคลียร์ เป็นต้น พลังงานต่างๆจะมีความสัมพันธ์ระหว่างกัน ในทางฟิสิกส์จำแนกพลังงานกลออกเป็น 2 ประเภท คือ พลังงานจลน์ และ พลังงานศักย์ 1 of 4

  39. พลังงานจลน์ ( Kinetic Energy , Ek ) พลังงานของวัตถุที่กำลังเคลื่อนที่ เรียกว่า พลังงานจลน์ ( Ek ) เมื่อ = พลังงานจลน์ของวัตถุ มีหน่วยเป็น จูล ( J ) m = มวลของวัตถุ มีหน่วยเป็น กิโลกรัม ( kg ) v = ความเร็วของวัตถุ มีหน่วยเป็น เมตรต่อวินาที ( m/s ) 2 of 4

  40. ตัวอย่าง ลูกปืนมวล 0.002 kg เคลื่อนที่ออกจากลำกล้องปืนซึ่งยาว 0.80 m ด้วยอัตราเร็ว 400 m/s จงหาพลังงานจลน์ของลูกปืน 3 of 4

  41. เฉลย จาก 4 of 4

  42. Code: 5.1 ความสัมพันธ์ระหว่าง งานและพลังงานจลน์ ถ้าเราทำให้วัตถุที่กำลังเคลื่อนที่อยู่นั้นไปทำงานอย่างหนึ่งปริมาณงานที่ทำได้ทั้งหมดจะเท่ากับพลังงานจลน์ของวัตถุนั้นเปลี่ยนไป 1 of 6

  43. เมื่อ W = ปริมาณงานที่ทำ มีหน่วยเป็น จูล ( J ) = พลังงานจลน์ที่เปลี่ยนไป มีหน่วยเป็น จูล ( J ) 2 of 6

  44. ตัวอย่างที่ 1 รถยนต์มวล 800 กิโลกรัม ขณะแล่นด้วยความเร็ว 72 กิโลเมตรต่อชั่วโมง คนขับใช้ห้ามล้อ รถเคลื่อนที่ต่อไปอีก 10 เมตรจึงหยุดนิ่ง งานเนื่องจากแรงต้านที่ทำให้รถหยุดมีค่าเท่าใด 3 of 6

  45. เฉลย งานเนื่องจากแรงต้านให้รถหยุดเท่ากับ 1.6 x 104 จูล ตอบ 4 of 6

  46. ตัวอย่างที่ 2 ออกแรง 20.0 นิวตัน ดึงวัตถุให้เคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงตัว บนพื้นที่มีแรงเสียดทานได้การกระจัด 3.0 เมตร จงหางานที่ทำโดยแรงเสียดทาน 5 of 6

  47. เฉลย งานที่ทำโดยแรงเสียดทาน เท่ากับ 60 จูลตอบ 6 of 6

  48. Code: 6.1 พลังงานศักย์โน้มถ่วง พลังงานศักย์ซึ่งเป็นพลังงานประเภทหนึ่งของพลังงานกลในทางฟิสิกส์คือ พลังงานที่มีอยู่ในวัตถุอันเนื่องมาจากตำแหน่งของวัตถุ พลังงานศักย์โน้มถ่วงคือพลังงานของวัตถุซึ่งอยู่ในที่สูง เกิดขึ้นเนื่องจากแรงโน้มถ่วงของโลกกระทำต่อวัตถุนั้น 1 of 4

  49. เมื่อ เมื่อ Epคือ พลังงานศักย์โน้มถ่วง มีหน่วยเป็น จูล ( J ) m คือ มวลของวัตถุ มีหน่วยเป็น กิโลกรัม ( kg ) g คือ ความเร่งเนื่องจากแรงโน้มถ่วง มีหน่วยเป็น เมตรต่อวินาทียกกำลังสอง ( m/s2 ) h คือ ความสูงของวัตถุจากพื้น มีหน่วยเป็น เมตร ( m ) 2 of 4

  50. ตัวอย่าง นักกายกรรมหนัก 600 นิวตัน ไต่เชือกที่แขวนอยู่ในแนวดิ่งขึ้นไปสูง 10 เมตร จากพื้นดิน จงหาพลังงานศักย์โน้มถ่วงเมื่อเขาอยู่ที่จุดสูง 10 เมตรจากพื้นดิน 3 of 4

More Related