1 / 20

ความก้าวหน้าการบริหารจัดการสินค้าเกษตรจังหวัดพิจิตรภายใต้รูปแบบ MRCF System

สำนักเกษตรจังหวัดพิจิตร. โดย นายไพฑูรย์ รื่นสุข เกษตรจังหวัดพิจิตร. ความก้าวหน้าการบริหารจัดการสินค้าเกษตรจังหวัดพิจิตรภายใต้รูปแบบ MRCF System. แนวทางการบริหารจัดการสินค้าเกษตรจังหวัดพิจิตร. แนว ทางการบริหารจัดการสินค้าเกษตรที่สำคัญ ( Zoning) ที่ สำคัญ 20 ชนิด

margot
Download Presentation

ความก้าวหน้าการบริหารจัดการสินค้าเกษตรจังหวัดพิจิตรภายใต้รูปแบบ MRCF System

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. สำนักเกษตรจังหวัดพิจิตรสำนักเกษตรจังหวัดพิจิตร โดย นายไพฑูรย์ รื่นสุข เกษตรจังหวัดพิจิตร ความก้าวหน้าการบริหารจัดการสินค้าเกษตรจังหวัดพิจิตรภายใต้รูปแบบ MRCF System

  2. แนวทางการบริหารจัดการสินค้าเกษตรจังหวัดพิจิตรแนวทางการบริหารจัดการสินค้าเกษตรจังหวัดพิจิตร แนวทางการบริหารจัดการสินค้าเกษตรที่สำคัญ (Zoning) ที่สำคัญ 20 ชนิด 1. ด้านพืช (ข้าว อ้อย ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ มันสำปะหลัง และยางพารา) 2. ด้านประมง 3. ด้านปศุสัตว์ คณะกรรมการขับเคลื่อนการใช้ประโยชน์ที่ดินด้านการเกษตรกรรมของจังหวัด คณะทำงานขับเคลื่อนการบริหารจัดการสินค้าข้าวของจังหวัดอย่างยั่งยืน

  3. แนวทางการขับเคลื่อนการบริหารจัดการสินค้าข้าวอย่างยั่งยืนแนวทางการขับเคลื่อนการบริหารจัดการสินค้าข้าวอย่างยั่งยืน มีวัตถุประสงค์ 1. เพื่อปรับโครงสร้างการบริหารจัดการสินค้าข้าวของจังหวัดให้ดำเนินการผลิตตามความเหมาะสมของ ดิน น้ำ และผลิตโดยใช้สายพันธุ์ข้าวที่มีมูลค่าเพิ่มสูง ซึ่งเป็นที่ต้องการของตลาดข้าวคุณภาพดี 2. เพื่อบริหารจัดการอุปทานสินค้าข้าวให้สอดคล้องกับอุปสงค์ของตลาดทั้งภายในและภายนอกจังหวัดและตลาดส่งออก 3. เพื่อสร้างเสถียรภาพของราคาข้าวในระยะยาวให้เป็นไปตามกลไกของตลาด

  4. เป้าหมายการพัฒนา 1. จังหวัดมีระยะการบริหารจัดการ การผลิตข้าวที่สอดคล้องกับความเหมาะสมของพื้นที่ พันธุ์ข้าว และความต้องการของตลาด 2. สินค้าข้าวของจังหวัดมีปริมาณเพียงพอ และคุณภาพที่ดี ได้มาตรฐาน 3. เกษตรกรทำการผลิตสินค้าข้าวอย่างเหมาะสม - มีการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตในพื้นที่ที่เหมาะสม - มีการปรับเปลี่ยนชนิดสินค้าและรูปแบบการผลิตในเขตพื้นที่ที่ไม่เหมาะสม

  5. ปัญหาการผลิตข้าวจังหวัดพิจิตรปัญหาการผลิตข้าวจังหวัดพิจิตร 1. มีการปลูกข้าวในพื้นที่ที่ไม่เหมาะสมเนื่องจากแรงจูงใจจากนโยบายภาครัฐ 2. ต้นทุนการผลิตที่เพิ่มขึ้น 3. ปัญหาเรื่องพันธุ์และช่องทางการตลาด

  6. การบริหารสินค้าข้าวจะเกี่ยวข้องกับปัจจัย ดังนี้ ข้าวนาปี 1,784,079 ไร่ ข้าวนาปรัง 1,140,088 ไร่ พื้นที่ ผลผลิตข้าวนาปี 1,156,083 ตันผลผลิตข้าวนาปรัง 786,170 ตัน สินค้า - เกษตรกร - พ่อค้า - ผู้บริโภค - เจ้าหน้าที่ - อื่นๆ คน

  7. M – ที่ใช้ในการวิเคราะห์/รวบรวมข้อมูล 1. ที่ตั้งและอาณาเขตติดต่อ 2.พื้นที่รับน้ำในเขตชลประทาน 3. พื้นที่ส่งน้ำในเขตจังหวัดพิจิตร 4.ปริมาณน้ำฝน ปี 54-56 5. พื้นที่เสี่ยงจากการเกิดอุทกภัย 6. แผนที่อุทกภัย/ภัยแล้ง ปี 54-56 7. แผนที่แสดงความเหมาะสมสำหรับ การปลูกข้าว 8. ศูนย์ข้าวชุมชนที่ดำเนินการในจังหวัดพิจิตร 9. แผนที่แสดงที่ตั้งแปลงพยากรณ์พืชที่สำคัญ 10. แผนที่แสดงพื้นที่การะบาดของแมลง ศัตรูพืช 11.ต้นทุนการผลิตข้าวนาปี 12. ข้อมุลผลผลิตเฉลี่ยต่อไร่ 13.ข้อมูลครัวเรือนเกษตรกร 14.สถานที่บริการทางการเกษตร 15.กลุ่มองค์กรเกษตรกร 16.เกษตรกรผู้นำ 17.ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการตลาด 18.ระบบการปลูกข้าวจังหวัดพิจิตร

  8. R – องค์ความรู้ และเทคโนโลยีการผลิตพืชในการนำเสนอข้อมูล • 1) เจ้าหน้าที่รวบรวมข้อมูลองค์ความรู้ทางวิชาการ • - ขั้นตอนการปลูกข้าวในเขตชลประทาน/ในเขตนาน้ำฝน • - การทำนาด้วยวิธีโยนกล้า • - อัตราการใช้เมล็ดพันธ์ข้าว/สารเคมี/ปุ๋ยเคมีที่ถูกต้องเหมาะสม • - การใช้สารชีวภัณฑ์ในการป้องกันกำจัดศัตรูพืช • - การจัดการกระบวนการผลิต GAP • 2) องค์ความรู้จากเกษตรกรผู้นำ/อกม./ ปราชญ์ชาวบ้าน ในพื้นที่

  9. กระบวนการทำงานในพื้นที่ (MRCF) จังหวัดพิจิตร การกำหนด พื้นที่ คน สินค้า การจัดการงานในพื้นที่ การบูรณาการ จัดเวทีเพื่อหา พื้นที่-สินค้า วางแผนการดำเนินงาน ประสานงานกับหน่วยงานภาคี 1 ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง รวบรวมข้อมูล(M,R) สร้างความสัมพันธ์กับหน่วยงานภาคี จัดเวทีเพื่อวิเคราะห์ปัญหา 2 ดำเนินงานตามแผนที่กำหนด มีแผนการดำเนินงานที่ชัดเจน หาข้อตกลงร่วมกัน ติดตามและประเมินผล กำหนดเป้าหมายพัฒนา ให้ความสำคัญกับการดำเนินกิจกรรมทุกขั้นตอน สรุปผลการดำเนินงาน สร้างแรงจูงใจให้กับเกษตรกร ประกอบด้วยอำเภอเมืองพิจิตร วังทรายพูน โพธิ์ประทับช้าง ตะพานหิน บางมูลนาก โพทะเล ทับคล้อ สากเหล็ก บึงนาราง สามง่าม ดงเจริญ และวชิรบารมี รวม 12 อำเภอ

  10. เป้าหมายการพัฒนาข้าวอย่างยั่งยืนเป้าหมายการพัฒนาข้าวอย่างยั่งยืน เพิ่มประสิทธิภาพ 1. ด้านต้นทุนการผลิต - Grain - Seed 2. ด้านคุณภาพผลผลิต - Grain - Seed ปรับเปลี่ยนพื้นที่ - พืชอื่น เช่น สมุนไพร - เศรษฐกิจพอเพียง

  11. การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต(ด้านการลดต้นทุนการผลิต)การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต(ด้านการลดต้นทุนการผลิต) 1. สินค้าข้าว(Grain) 1.1 ลดอัตราการใช้เมล็ดพันธุ์ข้าว ดำเนินการ 6 อำเภอ 17 ตำบล พื้นที่ 3,150 ไร่ เกษตรกร 333 ราย โดยส่งเสริมให้ลดอัตราการใช้เมล็ดพันธุ์จาก 30 ถัง/ไร่ เป็น 20 ถังต่อไร่ และให้เกษตรกรทำนาด้วยวิธีโยนกล้า

  12. การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต(ด้านการลดต้นทุนการผลิต)การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต(ด้านการลดต้นทุนการผลิต) 1. สินค้าข้าว(Grain) 1.2 ลดการใช้สารเคมี ดำเนินการ 8 อำเภอ 14 ตำบล พื้นที่ 3,340 ไร่ เกษตรกร 325 ราย โดยส่งเสริมให้ใช้สารชีวภัณฑ์ทดแทนการใช้สารเคมี

  13. การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต(ด้านการลดต้นทุนการผลิต)การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต(ด้านการลดต้นทุนการผลิต) 1. สินค้าข้าว(Grain) 1.3 ลดการใช้ปุ๋ยเคมี ดำเนินการ 2 อำเภอ 3 ตำบล พื้นที่ 1,170 ไร่ เกษตรกร 55ราย โดยส่งเสริมให้ใช้ปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพทดแทนการใช้ปุ๋ยเคมี และส่งเสริมการปลูกพืชบำรุงดิน

  14. การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต(ด้านการเพิ่มคุณภาพผลผลิต)การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต(ด้านการเพิ่มคุณภาพผลผลิต) 1. สินค้าข้าว(Grain) 1.4 การผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวที่มีคุณภาพดี ดำเนินการ 2อำเภอ 2 ตำบลพื้นที่ 400ไร่ เกษตรกร 29ราย โดยส่งเสริมให้ผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวที่มีคุณภาพไว้ปลูกเองและจำหน่ายในชุมชน

  15. การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต(ด้านการเพิ่มคุณภาพผลผลิต)การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต(ด้านการเพิ่มคุณภาพผลผลิต) 1. สินค้าข้าว(Grain) 1.5 พัฒนามาตรฐานการผลิตข้าว(GAP)ดำเนินการ 2อำเภอ 2 ตำบลพื้นที่ 350ไร่ เกษตรกร 40 ราย โดยส่งเสริมกระบวนการผลิตข้าวให้ได้มาตรฐาน(GAP)

  16. การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต(ด้านการเพิ่มคุณภาพผลผลิต)การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต(ด้านการเพิ่มคุณภาพผลผลิต) 2. เมล็ดพันธุ์ (Seed) 2.1 การผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวที่มีคุณภาพดี ดำเนินการ 6 อำเภอ 7 ตำบล พื้นที่1,661ไร่ เกษตรกร 139 ราย โดยส่งเสริมให้ผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวที่มีคุณภาพไว้ปลูกเองและจำหน่ายในชุมชน

  17. การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต(ด้านการลดต้นทุนการผลิต)การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต(ด้านการลดต้นทุนการผลิต) 2. เมล็ดพันธุ์ (Seed) 2.2 ลดอัตราการใช้เมล็ดพันธุ์ข้าว ดำเนินการในพื้นที่อำเภอสากเหล็ก 1 ตำบล พื้นที่ 200 ไร่ เกษตรกร 20 ราย 2.3 ลดการใช้สารเคมี ดำเนินการในพื้นที่อำเภอตะพานหินและวังทรายพูน รวม 2 ตำบล พื้นที่ 400 ไร่ เกษตรกร 40 ราย การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต(ด้านการเพิ่มคุณภาพผลผลิต) 2.4 พัฒนามาตรฐานการผลิตข้าว(GAP) ดำเนินการพื้นที่อำเภอสามง่าม 1 ตำบล พื้นที่ 200 ไร่ เกษตรกร 20 ราย

  18. การปรับเปลี่ยนพื้นที่พืชอื่นการปรับเปลี่ยนพื้นที่พืชอื่น 3. การปรับเปลี่ยนพื้นที่ โดยปรับเปลี่ยนพื้นที่การทำนาข้าวมาปลูก พืชสมุนไพร ในพื้นที่ หมู่ที่ 9 ตำบลหนองพยอม อำเภอตะพานหิน พื้นที่ 5 ไร่ เกษตรกร 15 ราย ตามแนวทางการจัดการพื้นที่เกษตรกรกรรม (Zoning) การปรับเปลี่ยนพื้นที่เศรษฐกิจพอเพียง 4. การพัฒนาตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง ด้วยการปรับเปลี่ยนพื้นที่ไปสู่การทำไร่นาส่วนผสม จำนวน 86 ตำบลในพื้นที่ที่ไม่เหมาะสมหรือเหมาะสมน้อยในการผลิตข้าว

  19. สรุปเป้าหมายการพัฒนาศักยภาพข้าวอย่างยั่งยืนสรุปเป้าหมายการพัฒนาศักยภาพข้าวอย่างยั่งยืน เพิ่มประสิทธิภาพ ปรับเปลี่ยนพื้นที่ พัฒนาคุณภาพผลผลิต ลดต้นทุนการผลิต พืชอื่น/สมุนไพร(1) พื้นที่ 5 ไร่ เกษตรกร 15 ราย 12 อำเภอ37 ตำบลพื้นที่ 8,260 ไร่ เกษตร 773 ราย 7 อำเภอ 12 ตำบล พื้นที่ 2,611 ไร่ เกษตร 228 ราย เศรษฐกิจพอเพียง(86) Seed - ผลิตเมล็ดพันธุ์ คุณภาพ(7) - พัฒนากระบวนการผลิตให้ได้มาตรฐาน GAP(1) Grain - อัตราการใช้ เมล็ดพันธุ์(17) - ใช้สารเคมี(14) - การใช้ปุ๋ยเคมี(3) Seed - อัตราการใช้เมล็ดพันธุ์(1) - ใช้สารเคมี(2) Grain - ผลิตเมล็ดพันธุ์ คุณภาพ(2) - พัฒนากระบวนการผลิตให้ได้มาตรฐาน GAP(2)

  20. จบการนำเสนอ

More Related