1 / 35

E-Learning

E-Learning. Electronic Learning. CAI/WBI/Hypermedia/Multimedia CAI on Web On-line Learning Internet-Based Learning Teleconferencing/Videoconferencing Distance Education. CAI แตกต่างอย่างไรกับ e-Learning. OFF LINE. ON LINE. เรียนคนเดียว. หลายคนพร้อมกัน. ปฏิสัมพันธ์กับเครื่อง.

lindley
Download Presentation

E-Learning

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. E-Learning

  2. Electronic Learning • CAI/WBI/Hypermedia/Multimedia • CAI on Web • On-line Learning • Internet-Based Learning • Teleconferencing/Videoconferencing • Distance Education

  3. CAI แตกต่างอย่างไรกับ e-Learning • OFF LINE • ON LINE • เรียนคนเดียว • หลายคนพร้อมกัน • ปฏิสัมพันธ์กับเครื่อง • ปฏิสัมพันธ์ทั้งเครื่องและคน • ติดต่อไม่ได้ในทันที • ติดต่อได้ทันที • ข้อมูลเฉพาะที่มีให้/ไม่มีการ update • ข้อมูลมีทั่วโลก/update ตลอดเวลา

  4. e-Learning 1 • E-Learning หมายถึง กระบวนการและการใช้ประโยชน์จากการเรียนการสอนผ่านเว็บ คอมพิวเตอร์ช่วยสอน ห้องเรียนเสมือน และการเรียนด้วยเครื่องมืออิเล็กทรอนิกส์ต่าง ๆ ทั้งระบบ Internet, Intranet, Network ,Audio, Visual, Video ,Television,Satellite, CD ROM ฯลฯ

  5. e-Learning 2 • E-Learning หมายถึง การเรียนรู้ผ่านระบบอินเทอร์เน็ต หรือการใช้ความสามารถของระบบ อินเทอร์เน็ตเพื่อการเรียนรู้

  6. e-Learning 3 • E-Learning หมายถึง การบูรณาการทางการศึกษาที่ไม่ยึดติดกับเวลา และความก้าวหน้าในการเรียนรู้

  7. e-Learning 4 • e-Learning หมายถึง การจัดกระบวนการเรียนและการใช้ประโยชน์จากสื่อทางอิเล็กทรอนิกส์ โดยเฉพาะคอมพิวเตอร์และระบบอินเทอร์เน็ต ที่ออกแบบการเรียนการสอนอย่างเป็นระบบ เพื่อให้เกิดการเรียนรุ้ได้ทุกที่ โดยไม่ยึดติดกับเวลาและความก้าวหน้าในการเรียนรู้

  8. คุณลักษณะของ E-Learning • Distance Education • Anytime Anywhere Anyplace • Collaborative Learning • Non-Linearity • Dynamic updating • Easy Accessibility

  9. ประโยชน์ของ E-Learning • สามารถเรียนรู้ได้ทุกที่ทุกเวลา • สามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง • กำหนดความต้องการในการเรียนรู้ได้ • ติดต่อสื่อสารระหว่างผู้เรียน/ผู้สอนได้ • ประหยัดงบประมาณ ราคาถูกและใช้งานได้ง่าย • ใช้เป็นสื่อหลัก/สื่อเสริมก็ได้

  10. ระบบการจัดการเรียนรู้ E-Learning • LMS (Learning Management System) • เป็นการจัดระบบกระบวนการเรียนการสอนต่างๆในการออนไลน์ตั้งแต่เนื้อหาการลงทะเบียนการเก็บข้อมูลการมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้สอนกับผู้เรียนเช่นอีเมล์กระดานข่าวห้องสนทนาเป็นต้นซึ่งจะมีส่วนของระบบฐานข้อมูลที่สนับสนุนการจัดการเนื้อหาวิชา (Content) โดยจะเอื้ออำนวยความสะดวกให้กับผู้เรียนผู้สอนผู้ผลิตและผู้ดูแลระบบ

  11. ระบบการจัดการเนื้อหา E-Learning • CMS (Content Management System) • เป็นในส่วนของเนื้อหาวิชาที่เรียนผู้สอนจะเป็นผู้จัดทำขึ้นและนำมาใส่ไว้ในระบบฐานข้อมูลของ LMS หรือผู้สอนจัดทำขึ้นเองเป็นอิสระโดยมีระบบเหมือนกับ LMS แต่ผู้สอนสามารถจัดการบริหารเพิ่มเติมเนื้อหาติดตั้งอุปกรณ์เครื่องมือบางส่วนได้ด้วยตนเองอาจกล่าวได้ว่าเป็นระบบการจัดการเนื้อหาโดยผู้สอนเพื่อที่ผู้เรียนจะได้นำไปศึกษาโดยไม่ต้องมีระบบการจัดการเต็มรูปแบบเข้ามาช่วย

  12. ความแตกต่างระหว่างระบบ LMS • 1.การบริหารจัดการทั้งระบบ • 2.กระบวนการจัดการสมบูรณ์แบบองค์ประกอบเต็มรูปแบบ • 3.ดำเนินการด้วยบุคลากรจำนวนมาก • 4.ค่าใช้จ่ายการดำเนินการสูง • 5.เหมาะสำหรับองค์กรขนาดใหญ่ • 6.ใช้เป็นสื่อหลักในการเรียนการสอน • 7.เนื้อหามาจากผู้เชี่ยวชาญหรือผู้ชำนาญการ • 8.การผลิตยุ่งยากและใช้เวลานาน • 9.การสร้างเน้นการทำงานกับเครื่องแม่ข่าย • ** **ความรับผิดชอบอยู่ที่องค์กรหรือหน่วยงาน

  13. ความแตกต่างของระบบ CMS • 1.การบริหารจัดการเฉพาะเนื้อหา • 2.กระบวนการจัดการเฉพาะเนื้อหาและองค์ประกอบบางส่วน • 3.ดำเนินการโดยผู้สอน • 4.ค่าใช้จ่ายการดำเนินการต่ำ • 5.เหมาะสำหรับอาจารย์ที่มีความรู้เฉพาะ • 6.ใช้เป็นสื่อเสริมในการเรียนการสอน • 7.เนื้อหาตรงตามความต้องการผู้สอน • 8.การผลิตง่ายและใช้เวลาน้อย • 9.การสร้างเน้นการทำงานกับเครื่องลูกข่าย • *** ความรับผิดชอบอยู่ที่ผู้สร้างหรือผู้สอน

  14. คณะทำงาน E-Learning • 1.ผู้ดูแลระบบ (Administrator) เป็นผู้ที่มีหน้าที่ดูแลระบบเครือข่ายการบริหารเครือข่าย • 2.ผู้ดูแลเว็บ (Webmaster) จะต้องเป็นผู้ดูแลและติดตั้งเว็บ • 3.ผู้ออกแบบและพัฒนาเว็บ (Web designer) เป็นผู้ออกแบบและสร้างเว็บตามผู้ออกแบบการเรียนการสอน • 4.ผู้ออกแบบระบบการเรียนการสอน (Instructional System Developer) เป็นผู้กำหนดรูปแบบการเรียนการสอนองค์ประกอบเนื้อหา • ผู้สอน (Instructor) เป็นผู้เชี่ยวชาญเนื้อหาเฉพาะวิชาที่ต้องการจะนำมาใช้ในการเรียนการสอนกำหนดเนื้อหาที่จะสอนแบบฝึกหัดข้อสอบการวัดผลและประเมินการเรียน

  15. การเรียนการสอนผ่านเว็บการเรียนการสอนผ่านเว็บ • CAI on Web • Online Learning • WBI : Web-based Instruction • WBT : Web-Based Training • IBI: Internet-Based Instruction

  16. Web-Based Instruction การใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ในระบบอินเทอร์เน็ต ในการออกแบบเว็บเพื่อการเรียนการสอน สนับสนุนและส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้อย่างมีความหมาย เชื่อมโยงเป็นเครือข่ายที่สามารถเรียนได้ทุกที่ทุกเวลา

  17. การออกแบบเว็บไซต์ • Homepage หมายถึง หน้าแรกของเว็บไซต์ • Web page หมายถึง เอกสารที่สร้างขึ้นในรูปแบบของ HTML • Web-site หมายถึง เว็บเพจที่มารวมกันอยู่ในพื้นที่ เดียวกันภายใต้โดเมนเดียวกัน

  18. การเข้าสู่ระบบอีเลินนิ่งการเข้าสู่ระบบอีเลินนิ่ง http://www.rajabhat.edu << Homepage Domain Name http://www.rajabhat.edu/it/index.html URL : Uniform Resource Locator http://edu.rajabhat.edu http://business.rajabhat.edu

  19. โครงสร้างของเว็บไซต์

  20. การออกแบบที่สับสน

  21. การออกแบบโครงสร้างเว็บการออกแบบโครงสร้างเว็บ ^^ แบบตื้น <<แบบลึก

  22. การออกแบบเว็บที่ดี

  23. รูปแบบของเว็บไซต์ แบบตะแกรง แบบใยแมงมุม แบบลำดับขั้น แบบต่อเนื่อง

  24. พื้นที่จอภาพ • 800 x 600 pixels 640 x 480 pixels 1024 x 768 pixels

  25. การจัดองค์ประกอบเว็บเพจการจัดองค์ประกอบเว็บเพจ

  26. โปรแกรมเพื่อการสร้างเว็บโปรแกรมเพื่อการสร้างเว็บ • Dreamweaver • Frontpage • Namo ฯลฯ HTML

  27. ความรู้เบื้องต้นสำหรับผู้สร้าง e-Learning • Computer Literacy • HTML • Internet /Browser • e-mail

  28. โปรแกรมสำหรับสร้างเว็บไซต์โปรแกรมสำหรับสร้างเว็บไซต์ • Web Programming • HTML,DHTML • Pert, CGI, • JAVA,ASP, PHP • Web Authoring • Frontpage • Dreamweaver • Namo , Net Object, Homesite

  29. Web Programming • Web-Programming หมายถึง การสร้างเว็บด้วยโปรแกรมภาษาสำหรับการสร้างเว็บ ภาษาที่ใช้ในการเขียนโปรแกรมสำหรับเว็บ ได้แก่ HTML ,Perl, CGI, ASP, PHP,XML

  30. Web Authoring • Web Authoring หมายถึง การสร้างเว็บด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป (Application) ที่จะแปลงการทำงานจากพื้นที่สร้างเว็บไปเป็นภาษาโปรแกรม(Source code) สำหรับเว็บอีกครั้งหนึ่ง อาทิเช่น Frontpage, Dreamweaver, Namo, Net object ฯลฯ

  31. ขั้นตอนการสร้างและพัฒนา E-Learning • การวางแผน (Planning) • การออกแบบ (Design) • การพัฒนา (Development) • การติดตั้ง (Publishing) • การตรวจสอบและดูแล (Maintenance)

  32. การวางแผนสร้างและพัฒนา E-Learning • หน้าแรกของเว็บไซต์ Homepage • ข้อมูลหน่วยงาน (Information) • โปรแกรมการสร้างและพัฒนาเว็บ • Dreamweaver, PhotoShop, Flash etc.. • พื้นที่ติดตั้งเว็บไซต์และองค์ประกอบภายในเว็บ • Thai.net , NECTEC • ผู้รับผิดชอบตรวจสอบและดูแล • Webmaster

  33. หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับ E-Learning • NECTEC • http://www.nectec.or.th • CHULAONLINE • http://www.chulaonline.com • THAI2Learn • http://www.thai2learn.com • THAIWBI • http://www.thaiwbi.com • การเรียนการสอนผ่านเว็บ • http://www26.brinkster.com/it2002/wbi.html

  34. ขอขอบคุณทุกท่านและหวังว่าจะได้พบท่านเป็นส่วนขอขอบคุณทุกท่านและหวังว่าจะได้พบท่านเป็นส่วน หนึ่งในโลกของ E-Learning

More Related