1 / 33

การทดสอบสมมุติฐานสำหรับข้อมูลต่อเนื่อง One-Sample t-test t-test for independent, paired t-test

การทดสอบสมมุติฐานสำหรับข้อมูลต่อเนื่อง One-Sample t-test t-test for independent, paired t-test. ผศ. นิคม ถนอมเสียง ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร์ คณะสาธารณสุขศาสตร์ ม.ขอนแก่น Web: http://home.kku.ac.th/nikom. การ ทดสอ บ ความแตกต่างของค่าเฉลี่ย 1 กลุ่ม -ไม่ทราบค่าความแปรปรวนของประชากร

lilika
Download Presentation

การทดสอบสมมุติฐานสำหรับข้อมูลต่อเนื่อง One-Sample t-test t-test for independent, paired t-test

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การทดสอบสมมุติฐานสำหรับข้อมูลต่อเนื่องการทดสอบสมมุติฐานสำหรับข้อมูลต่อเนื่อง One-Sample t-test t-test for independent, paired t-test ผศ. นิคม ถนอมเสียง ภาควิชาชีวสถิติและประชากรศาสตร์ คณะสาธารณสุขศาสตร์ ม.ขอนแก่น Web: http://home.kku.ac.th/nikom

  2. การทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ย 1 กลุ่ม -ไม่ทราบค่าความแปรปรวนของประชากร Assumption -ข้อมูลมีการแจกแจงแบบปกติ -มีระดับการวัด interval หรือ ratio scale One Sample t-test

  3. ทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ย 1 กลุ่ม เมื่อไม่ทราบค่าความแปรปรวนของประชากร - ศึกษาประชากรกลุ่มเดียว - เช่นค่าเฉลี่ยความ sysBP ของชายกลุ่มอายุมากกว่า 40 ปี มี bmi 20-25 มีค่ามากกว่าเกณฑ์ปกติ 120 mmHg One Sample t-test กรณีละเมิด Assumption ใช้ Wilcoxon Sign Rank Test

  4. คำถามการวิจัย: ค่าเฉลี่ยของ sysbp ในผู้ชายอายุมากกว่า 40 ปีมีค่าเท่ากับ 120 mmHg หรือไม่ ข้อมูล 120 130 130 140 140 140 150 150 160 ทดสอบการแจกแจงแบบปกติ . swilk sysbp Shapiro-Wilk W test for normal data Variable | Obs W V z Prob>z -------------+------------------------------------------------- sysbp | 90.995490.066-3.5380.99980

  5. คำถามค่าเฉลี่ย sysbp ในกลุ่มผู้ชายสูงอายุมากกว่า 40 ปี bmi 20-25 มีค่าแตกต่างกับ 120 mmHg หรือไม่ 1. สมมุติฐาน H0: HA: 2. กำหนดระดับนัยสำคัญ 0.05 3. เลือกวิธีการทางสถิติและคำนวณค่าสถิติ

  6. 3. เลือกวิธีการทางสถิติและคำนวณค่าสถิติ . su Variable | Obs Mean Std. Dev. Min Max -------------+----------------------------------------------------- sysbp | 914012.24745120160 ข้อมูล 120 130 130 140 140 140 150 150 160 ( )

  7. . ttest sysbp=120 One-sample t test ------------------------------------------------------------------------------ Variable | Obs Mean Std. Err. Std. Dev. [95% Conf. Interval] ---------+-------------------------------------------------------------------- sysbp | 91404.08248312.24745130.5858149.4142 ------------------------------------------------------------------------------ Degrees of freedom: 8 Ho: mean(sysbp) = 120 Ha: mean < 120 Ha: mean ~= 120 Ha: mean > 120 t = 4.8990 t = 4.8990 t = 4.8990 P < t = 0.9994 P > |t| = 0.0012 P > t = 0.0006 4. หาค่า P-valueเปิดตาราง T=4.8990 ;df=9-1 ;p-value = ? 5. ตัดสินใจและสรุปผล ค่าเฉลี่ย sysBP ของชายกลุ่มอายุมากกว่า 40ปี มี bmi 20-25 มีแตกต่างกกับเกณฑ์ปกติ 120 mmHg อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 95% ci มีค่าเท่ากับ 130.59-149.41 mm.Hg

  8. ความสัมพันธ์ระหว่าง %CI กับการทดสอบสมมุติฐาน ค่าที่กำหนดในสมมุติฐาน H0 1 2 3 เมื่อ ค่ากำหนด (2) ใน H0อยู่ในช่วงเชื่อมั่น = non-significant ค่ากำหนด (1,3) ใน H0อยู่นอกช่วงเชื่อมั่น = significant CI

  9. ความสัมพันธ์ระหว่าง %CI กับการทดสอบสมมุติฐาน ค่าที่กำหนดในสมมุติฐาน H0 : 120 ตัวอย่าง 95% ci มีค่าเท่ากับ 130.59-149.41 mm.Hg ดังนั้น ค่า H0 = 120 อยู่นอกช่วงเชื่อมั่น = significant 130.59 149.41 CI

  10. ทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ย 2 กลุ่มที่เป็นอิสระต่อกัน เมื่อไม่ทราบค่าความแปรปรวนของประชากร ความแปรปรวนเท่ากัน Standard error

  11. ทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ย 2 กลุ่มที่เป็นอิสระต่อกัน เมื่อไม่ทราบค่าความแปรปรวนของประชากร ความแปรปรวนไม่เท่ากัน Standard error

  12. ความแปรปรวนเท่ากัน ความแปรปรวนไม่เท่ากัน

  13. ข้อกำหนด (Assumption) -ข้อมูลแต่ละชุดมีการแจกแจงแบบปกติ -ข้อมูลมีสเกลการวัด interval, ratio scale

  14. การทดสอบความแปรปรวนเท่ากันการทดสอบความแปรปรวนเท่ากัน สมมุติฐาน กำหนดระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05 คำนวณค่าสถิติ เปิดตาราง p-value ? สรุปผล ข้อมูล 2 ชุดมีความแปรปรวนเท่ากัน

  15. คำถามการวิจัย: ค่าเฉลี่ยของ chol ในผู้ชายอายุมากกว่า 40 ปีไม่ออกกำลังกาย (กลุ่ม 1) และออกกำลังกายสม่ำเสมอ (กลุ่ม 2 )แตกต่างกันหรือไม่

  16. . sdtest chol,by(gr) Variance ratio test ------------------------------------------------------------------------------ Group | Obs Mean Std. Err. Std. Dev. [95% Conf. Interval] ---------+-------------------------------------------------------------------- 0 | 5 330.8 31.55852 70.56699 243.1795 418.4205 1 | 5 195.6 18.07927 40.42648 145.4039 245.7961 ---------+-------------------------------------------------------------------- combined | 10 263.2 28.31443 89.53807 199.1483 327.2517 ------------------------------------------------------------------------------ Degrees of freedom: 4, 4 Ho: sd(0) = sd(1) Ha: sd(0) < sd(1) Ha: sd(0) != sd(1) Ha: sd(0) > sd(1) F = 3.0470 F = 3.0470 F = 3.0470 P < F = 0.8470 2*(P > F) = 0.3060 P > F = 0.1530

  17. คำถาม ค่าเฉลี่ยของ chol ในผู้ชายอายุมากกว่า 40 ปี ไม่ออกกำลังกาย (กลุ่ม 1) และออกกำลังกายสม่ำเสมอ (กลุ่ม 2 )แตกต่างกันหรือไม่ 1.ตั้งสมมุติฐาน H0: HA: 2. กำหนดระดับนัยสำคัญ 0.05 หรือ

  18. 3. เลือกวิธีการทางสถิติและคำนวณค่าสถิติ . sdtest chol,by(gr) Variance ratio test ------------------------------------------------------------------------------ Group | Obs Mean Std. Err. Std. Dev. [95% Conf. Interval] ---------+-------------------------------------------------------------------- 0 | 5 330.8 31.55852 70.56699 243.1795 418.4205 1 | 5 195.6 18.07927 40.42648 145.4039 245.7961 ---------+-------------------------------------------------------------------- combined | 10 263.2 28.31443 89.53807 199.1483 327.2517 ------------------------------------------------------------------------------ Degrees of freedom: 4, 4 Ho: sd(0) = sd(1) Ha: sd(0) < sd(1) Ha: sd(0) != sd(1) Ha: sd(0) > sd(1) F = 3.0470 F = 3.0470 F = 3.0470 P < F = 0.8470 2*(P > F) = 0.3060 P > F = 0.1530

  19. ทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ย 2 กลุ่มที่เป็นอิสระต่อกัน เมื่อไม่ทราบค่าความแปรปรวนของประชากร ความแปรปรวนเท่ากัน Standard error

  20. ทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ย 2 กลุ่มที่เป็นอิสระต่อกัน เมื่อไม่ทราบค่าความแปรปรวนของประชากร ความแปรปรวนเท่ากัน . su chol if gr==1 Variable | Obs Mean Std. Dev. Min Max -------------+----------------------------------------------------- chol | 5 195.6296 40.5984 153.9819 262.3016 . su chol if gr==0 Variable | Obs Mean Std. Dev. Min Max -------------+----------------------------------------------------- chol | 5 330.8275 70.44776 245.3274 437.8791

  21. 4. หาค่า P-value เปิดตาราง T=3.7 ;df=5+5-1 ;p-value <.05 5. ตัดสินใจและสรุปผล ค่าเฉลี่ยของ chol ในผู้ชายอายุมากกว่า 40 ปีกลุ่มไม่ออกกำลังกายและกลุ่มออกกำลังกายสม่ำเสมอ แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ

  22. . ttest chol,by(gr) Two-sample t test with equal variances ------------------------------------------------------------------------------ Group | Obs Mean Std. Err. Std. Dev. [95% Conf. Interval] ---------+-------------------------------------------------------------------- 0 | 5 330.8 31.55852 70.56699 243.1795 418.4205 1 | 5 195.6 18.07927 40.42648 145.4039 245.7961 ---------+-------------------------------------------------------------------- combined | 10 263.2 28.31443 89.53807 199.1483 327.2517 ---------+-------------------------------------------------------------------- diff | 135.2 36.37032 51.3299 219.0701 ------------------------------------------------------------------------------ Degrees of freedom: 8 Ho: mean(0) - mean(1) = diff = 0 Ha: diff < 0 Ha: diff != 0 Ha: diff > 0 t = 3.7173 t = 3.7173 t = 3.7173 P < t = 0.9971 P > |t| = 0.0059 P > t = 0.0029

  23. ความสัมพันธ์ระหว่าง %CI กับการทดสอบสมมุติฐาน ค่าที่กำหนดในสมมุติฐาน H0 : หรือ 0 ตัวอย่าง 95% ci มีค่าเท่ากับ 51.33-219.07 mm.Hg ดังนั้น ค่า H0 = 0 อยู่นอกช่วงเชื่อมั่น = significant 51.33 219.07 CI

  24. ทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ย 2 กลุ่ม ที่ไม่เป็นอิสระต่อกัน เมื่อไม่ทราบค่าความแปรปรวนของประชากร ข้อมูล 2 ชุดที่มีไม่เป็นอิสระ (ความสัมพันธ์กัน) -Pretest-Post test (repeated measure) -Twins, litter mates -match pair

  25. Standard error ข้อกำหนด (Assumption) -ข้อมูล diมีการแจกแจงแบบปกติ -จ้อมูลมีสเกลการวัดแบบ interval, ratio scale

  26. คำถามการวิจัย: ระดับของ chol ในผู้ชายอายุมากกว่า 40 ปีก่อนและหลังออกกำลังกายแตกต่างกันหรือไม่

  27. คำถาม ระดับของ chol ในผู้ชายอายุมากกว่า 40 ปีก่อนและหลัง • ออกกำลังกายแตกต่างกันหรือไม่ • ตั้งสมมุติฐาน • H0: HA: • 2. กำหนดระดับนัยสำคัญ 0.05

  28. 3. เลือกวิธีการทางสถิติและคำนวณค่าสถิติ . swilk d Shapiro-Wilk W test for normal data Variable | Obs W V z Prob>z -------------+------------------------------------------------- d | 50.953820.545-0.7210.76445 . su d Variable | Obs Mean Std. Dev. Min Max -------------+----------------------------------------------------- d | 5-27.621.65179-600

  29. 4. หาค่า P-value เปิดตาราง T=-2.9 ;df=5-1 ;p-value <.025 5. ตัดสินใจและสรุปผล ระดับของ chol ในผู้ชายอายุมากกว่า 40 ปีก่อนและหลัง ออกกำลังกายแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ

  30. กรณี ก่อน - หลัง . ttest cho1=cho2 Paired t test ------------------------------------------------------------------------------ Variable | Obs Mean Std. Err. Std. Dev. [95% Conf. Interval] ---------+-------------------------------------------------------------------- cho1 | 5 324 6.78233 15.16575 305.1692 342.8308 cho2 | 5 296.4 15.13142 33.83489 254.3884 338.4116 ---------+-------------------------------------------------------------------- diff | 5 27.6 9.682975 21.65179 .7157522 54.48425 ------------------------------------------------------------------------------ Ho: mean(cho1 - cho2) = mean(diff) = 0 Ha: mean(diff) < 0 Ha: mean(diff) != 0 Ha: mean(diff) > 0 t = 2.8504 t = 2.8504 t = 2.8504 P < t = 0.9768 P > |t| = 0.0464 P > t = 0.0232

  31. ความสัมพันธ์ระหว่าง %CI กับการทดสอบสมมุติฐาน ค่าที่กำหนดในสมมุติฐาน H0 : หรือ 0 ตัวอย่าง 95% ci มีค่าเท่ากับ .72-54.48 ดังนั้น ค่า H0 = 0 อยู่นอกช่วงเชื่อมั่น = significant .72 54.48 CI

  32. กรณี หลัง - ก่อน . ttest cho2=cho1 Paired t test ------------------------------------------------------------------------------ Variable | Obs Mean Std. Err. Std. Dev. [95% Conf. Interval] ---------+-------------------------------------------------------------------- cho2 | 5 296.4 15.13142 33.83489 254.3884 338.4116 cho1 | 5 324 6.78233 15.16575 305.1692 342.8308 ---------+-------------------------------------------------------------------- diff | 5 -27.6 9.682975 21.65179 -54.48425 -.7157522 ------------------------------------------------------------------------------ Ho: mean(cho2 - cho1) = mean(diff) = 0 Ha: mean(diff) < 0 Ha: mean(diff) != 0 Ha: mean(diff) > 0 t = -2.8504 t = -2.8504 t = -2.8504 P < t = 0.0232 P > |t| = 0.0464 P > t = 0.9768

  33. ความสัมพันธ์ระหว่าง %CI กับการทดสอบสมมุติฐาน ค่าที่กำหนดในสมมุติฐาน H0 : หรือ 0 ตัวอย่าง 95% ci มีค่าเท่ากับ -54.48 ถึง -.72 ดังนั้น ค่า H0 = 0 อยู่นอกช่วงเชื่อมั่น = significant -54.48 -.72 CI

More Related