1 / 24

The Study of Energy Indicator in Hot-Humid Climate Office Building

การศึกษาเกณฑ์ชี้วัดการใช้พลังงานในอาคารสำนักงานเขตร้อนชื้น. The Study of Energy Indicator in Hot-Humid Climate Office Building. โดย : นายการุณย์ ศุภมิตรโยธิน. อาจาย์ที่ปรึกษา รศ . ดร . วรสัณฑ์ บูรณากาญจน์ . อาจาย์ที่ปรึกษา(ร่วม) ศ . ดร . สุนทร บุญญาธิการ. วัตถุประสงค์ของการศึกษา.

lexi
Download Presentation

The Study of Energy Indicator in Hot-Humid Climate Office Building

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การศึกษาเกณฑ์ชี้วัดการใช้พลังงานในอาคารสำนักงานเขตร้อนชื้นการศึกษาเกณฑ์ชี้วัดการใช้พลังงานในอาคารสำนักงานเขตร้อนชื้น The Study of Energy Indicator in Hot-Humid Climate Office Building โดย : นายการุณย์ ศุภมิตรโยธิน อาจาย์ที่ปรึกษา รศ.ดร.วรสัณฑ์ บูรณากาญจน์ อาจาย์ที่ปรึกษา(ร่วม) ศ.ดร.สุนทร บุญญาธิการ

  2. วัตถุประสงค์ของการศึกษาวัตถุประสงค์ของการศึกษา • ศึกษาและรวบรวมตัวแปรด้านการออกแบบเปลือกอาคารที่ส่งผลต่อการใช้พลังงานในอาคาร 2. วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร 3. ศึกษาเกณฑ์ที่เหมาะสมพร้อมเสนอแนะแนวทางการ ออกแบบอาคารสำนักงานประหยัดพลังงาน

  3. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ เป็นแนวทางในการออกแบบอาคารสำนักงาน เพื่อการประหยัดพลังงานและพัฒนาเป็นกฎระเบียบ ข้อบังคับในการการก่อสร้างอาคารในอนาคต • ขอบเขตของการศึกษา ศึกษาเฉพาะตัวแปรส่วนเปลือกอาคารที่ส่งผลต่อภาระการทำความเย็นของอาคารสำนักงานปรับอากาศที่ใช้งาน ทุกวันจันทร์ถึงศุกร์ 8.00-16.00 น. ใช้ข้อมูลอากาศกรุงเทพมหานคร

  4. ระเบียบวิธีวิจัย 1. ศึกษาทฤษฎีและเกณฑ์การออกแบบอาคารสำนักงานเพื่อ การประหยัดพลังงาน 2. รวบรวม จัดหมวดหมู่และวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของ ตัวแปรส่วนเปลือกอาคารที่ส่งผลต่อการใช้พลังงานในอาคาร 3. สรุปเกณฑ์และแนวทางในการออกแบบอาคารสำนักงาน เพื่อการประหยัดพลังงาน

  5. ตัวแปรส่วนเปลือกอาคารที่ศึกษาตัวแปรส่วนเปลือกอาคารที่ศึกษา 1) อัตราส่วนพื้นที่ผิวอาคารภายนอกต่อพื้นที่ใช้สอย 2) คุณสมบัติวัสดุเปลือกอาคารทึบแสง (opaque envelope) 3) อัตราส่วนปริมาณพลังงานรวมที่เพิ่มขึ้นจากช่องแสงต่อ พลังงานรวมที่ประหยัดได้

  6. การศึกษารูปทรงอาคารที่เหมาะสมต่อการประหยัดพลังงานการศึกษารูปทรงอาคารที่เหมาะสมต่อการประหยัดพลังงาน 9,000 21,400 11,900 พื้นที่ผิวภายนอก =0.09 =2.14 =1.19 10,000 10,000 10,000 พื้นที่ใช้สอย 1 ชั้น 2 ชั้น 3 ชั้น ภาพที่ 1 แสดงการคำนวณอัตราส่วนพื้นที่ผิวอาคารภายนอกต่อพื้นที่ใช้สอยภายในที่เท่ากัน

  7. 3 สี่เหลี่ยมจัตุรัส สัดส่วน 1:1 สี่เหลี่ยมผืนผ้า สัดส่วน 1:2 สี่เหลี่ยมผืนผ้า สัดส่วน 1:4 ทรงกระบอก สี่เหลี่ยมผืนผ้ามีคอร์ดกลาง รูปตัวแอล (L) ภาพที่ 2 แสดงรายละเอียดรูปทรงอาคารที่ศึกษากรณีพื้นที่ใช้สอยเท่ากัน

  8. อัตราส่วนพื้นที่ผิวอาคารภายนอกต่อพื้นที่ใช้สอยอัตราส่วนพื้นที่ผิวอาคารภายนอกต่อพื้นที่ใช้สอย รูปทรงสี่เหลี่ยมผืนผ้ามีคอร์ดกลาง รูปทรงตัวแอล(L) รูปทรงสี่เหลี่ยมผืนผ้าสัดส่วน 1:4 รูปทรงสี่เหลี่ยมผืนผ้าสัดส่วน 1:2 รูปทรงสี่เหลี่ยมจัตุรัส รูปทรงกระบอก ชั้น แผนภูมิที่1 เปรียบเทียบอัตราส่วนพื้นที่ผิวอาคารภายนอกต่อพื้นที่ใช้สอยกับจำนวนชั้นของอาคาร รูปทรงต่างๆ กรณีอาคารขนาดพื้นที่ใช้สอย 10,000 ตร.ม.ที่มีความสูงระหว่างชั้นเท่ากัน

  9. อัตราส่วนพื้นที่ผิวอาคารภายนอกต่อพื้นที่ใช้สอยอัตราส่วนพื้นที่ผิวอาคารภายนอกต่อพื้นที่ใช้สอย อาคารทรงสี่เหลี่ยมจัตุรัส สัดส่วน 1:1 5.0 ม. 4.5 ม. 4.0 ม. 3.5 ม. 3.0 ม. ชั้น ชั้น แผนภูมิที่ 2 แสดงอัตราส่วนพื้นที่ผิวอาคารภายนอกต่อพื้นที่ใช้สอยของอาคารที่มีความสูงระหว่าง ชั้นต่างกัน กรณีอาคารรูปทรงสี่เหลี่ยมจัตุรัส ขนาดพื้นที่ใช้สอย 10,000 ตร.ม.

  10. การวิเคราะห์คุณสมบัติวัสดุเปลือกอาคารทึบแสงการวิเคราะห์คุณสมบัติวัสดุเปลือกอาคารทึบแสง • - ขนาด กว้างxยาว 40 x 40 ม. • สูง 12 ชั้น (42 ม.) • ความสูงระหว่างชั้น 3.5 ม. • - Window to Wall Ratio 50 % • - วางอาคารแนวเหนือ-ใต้ • - ใช้งาน 8:00 – 16:00 น. • - ควบคุมปัจจัยภายในทั้งหมด • - คำนวณด้วยโปรแกรม DOE-2 • - จัดกลุ่มโดยพิจารณาค่า U-Value • ประกอบกับภาระการทำความเย็น ภาพที่ 3 แสดงอาคารจำลองที่ใช้ในการคำนวณภาระการทำความเย็นส่วนเปลือกอาคารทึบแสง

  11. 25% 45% 65% 85% ( ภาระการทำความเย็นลดลงจาก E ) แผนภูมิที่ 3แสดงการแบ่งกลุ่ม วัสดุผนังตามค่า U-Value และ ภาระการทำความเย็น

  12. 35% 70% 83% 90% ( ภาระการทำความเย็นลดลงจาก E ) แผนภูมิที่ 4 แสดงการแบ่งกลุ่ม วัสดุหลังคาตามค่า U-Value และ ภาระการทำความเย็น

  13. 60% 76% 83% 87% ( ภาระการทำความเย็นลดลงจาก E ) แผนภูมิที่ 5 แสดงการแบ่งกลุ่ม วัสดุพื้นตามค่า U-Value และ ภาระการทำความเย็น

  14. lux ไฟฟ้าแสงสว่าง 1500 1000 ส่วนที่ต้องเพิ่มแสงสว่าง 500 พลังงานไฟฟ้าแสงสว่างที่ประหยัดได้ 3 0 1 2 4 5 6 7 8 9 10 ระยะความกว้างของห้อง (เมตร) การศึกษาการนำแสงธรรมชาติมาใช้ในอาคารสำนักงาน อย่างมีประสิทธิภาพ ภาพที่ 4ภาพประกอบการคำนวณพลังงาน กรณีเปิดช่องแสง

  15. ค่าตัวคูณ >1 เป็นระดับที่มีประสิทธิภาพในการประหยัดพลังงานต่ำ กรณีเปิดช่องแสงที่มีปริมาณพลังงานรวมที่เพิ่มขึ้นจาก ช่องแสง มากกว่าพลังงานรวมที่ประหยัดลงได้ ( >1 - 1.2 ) ค่าตัวคูณ <1เป็นระดับที่มีประสิทธิภาพในการประหยัดพลังงานสูง กรณีเปิดช่องแสงที่มีปริมาณพลังงานรวมที่เพิ่มขึ้นจาก ช่องแสงน้อยกว่าพลังงานรวมที่ประหยัดได้ ( <1 - 0.8 ) ค่าตัวคูณ =1กรณีไม่เปิดช่องแสง กำหนดให้เป็นกรณีมาตรฐาน หมายเหตุ ค่าดังกล่าวเกิดจากการตั้งสมมติฐาน

  16. หน่วย KWh/m2.yr - พื้นที่ใช้สอย 10,000 m2 ขนาด 25*25*56 ม. - อาคารสูง 16 ชั้น ความสูงระหว่างชั้น 3.5 ม. - หลังคาคสล.15 ซม.+ ฝ้าเพดาน (1.84 W/m2.K) - ผนังก่ออิฐฉาบปูน (3.4 W/m2.K) - พื้น คสล. 10 ซม. (4.3 W/m2.K) - กระจกใส (6.2 W/m2.K) - Window to Wall Ratio 50% - ใช้งาน 8.00-16.00 น. 2,000 ชม. ต่อปี ภาพที่ 5 รายละเอียดและภาพอาคารจำลอง การสร้างสมการคำนวณพลังงาน 1. จำลองอาคารในโปรแกรม DOE-2 คำนวณพลังงานตลอดปี

  17. พลังงานที่ใช้ส่วนเปลือกอาคาร = [ ∑(UA) * Δt ] *Hr ………. (2) (KWh/m2.yr) COP*1,000 2. คำนวณพลังงานที่ใช้ตลอดทั้งปีด้วยสมการ U สัมประสิทธิ์การถ่ายเทความร้อนของเปลือกอาคารแต่ละส่วน (W/m2.K) A อัตราส่วนพื้นที่ผิวอาคารภายนอกต่อพื้นที่ใช้สอย Δt ค่าความแตกต่างของอุณหภูมิอากาศภายนอกกับภายในอาคาร Hr ชั่วโมงการใช้งานต่อปี COP ประสิทธิภาพของเครื่องปรับอากาศ

  18. 12.24 kWh/m2.yr ผลการคำนวณจาก DOE-2 3. = 0.6 = ผลการคำนวณสมการ (2) 20.40 kWh/m2.yr U สัมประสิทธิ์การถ่ายเทความร้อนของเปลือกอาคารทึบแสงแต่ละชนิด (W/m2.K) A อัตราส่วนพื้นที่ผิวอาคารภายนอกต่อพื้นที่ใช้สอย UF Daylight อัตราส่วนพลังงานรวมที่เพิ่มขึ้นต่อพลังงานรวมที่ประหยัดได้จากการเปิดช่องแสง Hr จำนวนชั่วโมงการใช้งานต่อปี COP ประสิทธิภาพเครื่องปรับอากาศ (Coefficient of Performance) 4. สร้างสมการความสัมพันธ์ พลังงานที่ใช้ = ∑ ( U*A* UF Daylight )*Hr * 0.6 ..…(3) ส่วนเปลือกอาคาร COP*1,000 (KWh/m2.yr)

  19. การทดสอบสมการความสัมพันธ์การทดสอบสมการความสัมพันธ์ 0.1 kWh/m2.yr 4.1 kWh/m2.yr หมายเหตุ*รายละเอียดของอาคารทั่วไปที่นำมาเปรียบเทียบเป็นค่าสูงสุด

  20. รูปทรงของอาคาร minimum maximum ระยะความสูงระหว่างชั้น บทสรุป การออกแบบอาคารเพื่อประหยัดพลังงานขึ้นกับปัจจัยหลัก 3 ประการ 1. การออกแบบรูปทรงอาคารเพื่อการประหยัดพลังงาน มีอัตราส่วนพื้นที่ผิวอาคารภายนอกต่อพื้นที่ใช้สอย น้อยที่สุด

  21. คุณสมบัติของวัสดุกระจก U-Value LT SC การใช้เทคนิคพิเศษเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการส่องสว่าง บทสรุป (ต่อ) 2. การเลือกวัสดุเปลือกอาคารที่มีค่า U-Value ต่ำ 3. การนำแสงธรรมชาติมาใช้ในอาคารอย่างมีประสิทธิภาพ และเหมาะสม มีอัตราส่วนพลังงานที่เพิ่มขึ้นต่อพลังงานที่ประหยัดได้ จากการเปิดช่องแสง ต่ำที่สุด

  22. ข้อเสนอแนะ 1. พิจารณาตัวแปรส่วนเปลือกอาคารอื่น 2. ศึกษาการนำแสงธรรมชาติมาใช้ในอาคารเพิ่มขึ้น 3. ศึกษาและเก็บข้อมูลอาคารกรณีศึกษา เพิ่มเติม

  23. งานวิจัยนี้ได้รับการสนับสนุนจากงานวิจัยนี้ได้รับการสนับสนุนจาก สำนักนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.) สถาบันวิจัยพลังงาน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อาจาย์ที่ปรึกษา รศ.ดร.วรสัณฑ์ บูรณากาญจน์ อาจาย์ที่ปรึกษา(ร่วม) ศ.ดร.สุนทร บุญญาธิการ ขอขอบคุณ ผู้ที่ให้การสนับสนุนทุกท่าน

  24. รายการอ้างอิง

More Related