1 / 15

Data Collecting for Genetic Improvement in Pig and Chicken

Data Collecting for Genetic Improvement in Pig and Chicken. Wuttigrai Boonkum , Ph.D Http://ags.kku.ac.th/elearning/137451. How to need data ?. To evaluate farm efficiency To plan farm management To plan the marketing To plan breeding improvement. Pig breeds. Landrace.

leroy
Download Presentation

Data Collecting for Genetic Improvement in Pig and Chicken

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Data Collecting for Genetic Improvement in Pig and Chicken WuttigraiBoonkum, Ph.D Http://ags.kku.ac.th/elearning/137451

  2. How to need data ? • To evaluate farm efficiency • To plan farm management • To plan the marketing • To plan breeding improvement

  3. Pig breeds Landrace Duroc or Duroc Jersey Large White or Yorkshire Berkshire Pietrain (Black-White spotted) Hampshire Meishan

  4. Pig genetic improvement

  5. Pig genetic improvement • สุกรเพศผู้อัตราการเจริญเติบโตเฉลี่ยต่อวัน = น้ำหนักที่เพิ่มขึ้น (กรัม) / จำนวนวันที่เลี้ยงประสิทธิภาพการใช้อาหาร = ปริมาณอาหารที่กิน (กก.) / น้ำหนักที่เพิ่มขึ้น (กก.)ความหนาไขมันสันหลังพื้นที่หน้าตัดเนื้อสัน การลดกลิ่น ไส้เลื่อน-ทองแดง • สุกรสาว อายุเมื่อแม่สุกรเป็นสัดครั้งแรก (วัน) อายุเมื่อแม่สุกรผสมพันธุ์ครั้งแรก (วัน) จำนวนวันผสมพันธุ์ครั้งแรก ถึง ผสมติด (สุกรสาว) อายุเมื่อแม่สุกรให้ลูกครอกแรก

  6. Pig genetic improvement • สุกรแม่พันธุ์ จำนวนลูกแรกเกิดทั้งหมด จำนวนลูกแรกเกิดมีชีวิต จำนวนลูกหย่านมต่อแม่ต่อปี = จำนวนลูกหย่านม x 365 / ช่วงระหว่างการคลอด เปอร์เซ็นต์เลี้ยงรอด = จำนวนลูกหย่านม / จำนวนลูกแรกเกิด • ลักษณะสำคัญอื่นๆLitter size (Birth + Wean)Weight at 90 to 100 kgs.Mothering ability - Litter size, %mortality, behavior - Pre-weaning mortality

  7. Pig genetic improvement • TST = terminal sire index (เน้นคัดพ่อพันธุ์)- เน้นคัดลักษณะการเจริญเติบโต (ดูทุ้ย) (ADG, FCR) - คุณภาพซาก (back fat, loin eye area, carcass)- Longissimusdorsi area • MLI = Maternal line Index (เน้นคัดสุกรสาว) - เน้นคัดลักษณะการเจริญเติบโตและระบบสืบพันธุ์ • SPI = Sow productivity Index (เน้นคัดสุกรแม่พันธุ์) - เน้นคัดระบบสืบพันธุ์

  8. Chicken genetic improvement • ไก่เนื้อ • ไก่ไข่ • ไก่พื้นเมือง

  9. Chicken genetic improvement • ประดู่หางดำ

  10. Chicken genetic improvement • ไก่เหลืองหางขาว • ไก่ชี

  11. Chicken genetic improvement • ไก่แดง

  12. Chicken genetic improvement • สายพันธุ์ไก่พื้นเมืองลูกผสม ที่ มข. พัฒนาพันธุ์ขึ้นมา • ไก่พื้นเมือง และไก่พื้นเมืองลูกผสม เน้นคัดเลือก ลักษณะการเจริญเติบโต และปริมาณผลผลิตไข่

  13. Chicken genetic improvement • ไก่ไข่ (Laying hen) น้ำหนักตัวแม่ไก่ปริมาณไข่น้ำหนักไข่อาหารที่กินจำนวนแม่ไก่ตาย/พิการการวัดประสิทธิภาพการผลิตไข่Hen-house egg production (HH) = จำนวนไข่ / จำนวนแม่ไก่ทั้งหมดที่นำเข้าเลี้ยงHen-day (HD) = จำนวนไข่ในช่วงเวลาที่กำหนด / จำนวนแม่ไก่มีชีวิตที่ให้ไข่ในช่วงเวลานั้นViabilityอัตราการเปลี่ยนอาหารเป็นน้ำหนักไข่ 1 กิโลกรัม = จำนวนอาหารที่ใช้เลี้ยง / น้ำหนักไข่รวมทั้งหมดการวัดประสิทธิภาพระบบสืบพันธุ์Age of first egg (AFE)อัตราการฟัก

  14. Chicken genetic improvement • ไก่เนื้อ น้ำหนักตัวอาหารที่กินจำนวนวันที่เลี้ยงอัตราการตาย/พิการการวัดประสิทธิภาพการผลิตอัตราการเจริญเติบโตเฉลี่ยต่อวัน = น้ำหนักที่เพิ่ม / จำนวนวันที่เลี้ยงประสิทธิภาพการใช้อาหาร = ปริมาณอาหารที่กิน / น้ำหนักที่เพิ่มขึ้นไขมันสะสม (บอกประสิทธิภาพของคุณภาพซาก)การวัดประสิทธิภาพระบบสืบพันธุ์1. อายุเมื่อให้ไข่ฟองแรก (AFE) (ฟอง)2. อัตราการฟัก (%)

  15. Homework • สืบค้นข้อมูลในสุกร และไก่ (ทุกชนิด) ว่าในปัจจุบัน มีลักษณะใดที่ทำการคัดเลือกอยู่ในปัจจุบันนี้ • ให้ทำรายบุคคล ห้ามซ้ำลักษณะกัน เลือกมาอย่างละ 1 ลักษณะในสัตว์แต่ละชนิด • ส่งคำตอบมาที่ “กระดานคำถาม” ของ e-learning รายวิชานี้ โดยในส่วนของผู้ส่งให้ระบุเฉพาะ รหัสนักศึกษาเท่านั้น • อาจารย์จะตรวจและให้คะแนนภายในวันที่ 4 ธันวาคม 2555 เวลา 12.00 น. หากพ้นกำหนด แม้จะส่งคำตอบมาจะถือว่าขาดส่งงาน

More Related