1 / 24

การทบทวนยุทธศาสตร์การพัฒนา จังหวัดยโสธร

การทบทวนยุทธศาสตร์การพัฒนา จังหวัดยโสธร. จังหวัดมุกดาหาร. จังหวัดร้อยเอ็ด. จังหวัดอำนาจเจริญ. จังหวัดอุบลราชธานี. จังหวัดศรีสะเกษ. จังหวัดยโสธร เป็นจังหวัดที่ 71 ของประเทศ.  พื้นที่ 4,1610,444 ตร. ม. หรือ 2,600,902 ไร่ จัดเป็นลำดับที่ 16 ของภาค 54 ของประเทศ. 9 อำเภอ 78 ตำบล

kiana
Download Presentation

การทบทวนยุทธศาสตร์การพัฒนา จังหวัดยโสธร

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การทบทวนยุทธศาสตร์การพัฒนาการทบทวนยุทธศาสตร์การพัฒนา จังหวัดยโสธร

  2. จังหวัดมุกดาหาร จังหวัดร้อยเอ็ด จังหวัดอำนาจเจริญ จังหวัดอุบลราชธานี จังหวัดศรีสะเกษ

  3. จังหวัดยโสธร เป็นจังหวัดที่ 71 ของประเทศ พื้นที่ 4,1610,444 ตร.ม. หรือ 2,600,902 ไร่ จัดเป็นลำดับที่ 16 ของภาค 54 ของประเทศ

  4. 9 อำเภอ 78 ตำบล • 885 หมู่บ้าน • อปท. 88 แห่ง (อบจ.1 แห่ง/ • เทศบาล 17 แห่ง/อบต. 70 แห่ง) ประชากร 540,127 คน จัดเป็นลำดับที่ 15 ของภาค และ 44 ประเทศ • เขตเลือกตั้ง 3 เขต (ส.ส. 3 คน/ส.ว. 1 คน)

  5. ภาพรวมตัวชี้วัดการพัฒนาจังหวัดยโสธรภาพรวมตัวชี้วัดการพัฒนาจังหวัดยโสธร

  6. การทบทวนข้อมูลตัวชี้วัดการทบทวนข้อมูลตัวชี้วัด

  7. ผลการทบทวนสภาวะแวดล้อม (SWOT) S W • รายได้เฉลี่ยต่อหัวของประชาชนอยู่ในเกณฑ์ต่ำ • ไม่มีตลาดกลางสินค้าการเกษตร • ระบบชลประทานไม่ครอบคลุมทุกพื้นที่การเกษตร • ดินเพื่อการเกษตรมีความอุดมสมบูรณ์ตามธรรมชาติต่ำ • แหล่งท่องเที่ยว ยังขาดการพัฒนาสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับบริการนักท่องเที่ยว • ถนนในชนบทส่วนมากยังมีสภาพชำรุด • ที่ตั้งของจังหวัดมีศักยภาพในการขยายตัวทางอุตสาหกรรมน้อย • มีภูมิประเทศ ภูมิอากาศ และภูมิปัญญาในการผลิตข้าวหอมมะลิคุณภาพดี • เป็นแหล่งผลิตภัณฑ์ชุมชนที่มีชื่อเสียง(หมอนขวานผ้าขิด) • มีแหล่งท่องเที่ยวทางศาสนา วัฒนธรรม ที่มีชื่อเสียง โดยเฉพาะงานประเพณีบุญบั้งไฟ และงานบุญแห่มาลัย • แรงงานมีจำนวนมาก สามารถรองรับงานในจังหวัด และสามารถพัฒนาเป็นแรงงานฝีมือได้ • วิถีอีสานของคนยโสธรมีความเข้มแข็ง • กระแสวัฒนธรรมต่างประเทศ ทำให้วิถีชีวิตชุมชนเปลี่ยนไป กระทบต่อความสงบสุขของประชาชน • กระแสทุนนิยมที่ทวีความรุนแรงเพิ่มขึ้น ทำให้ประชาชนมีแนวโน้มขายที่ทำกิน • มีแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดิน โดยปลูกพืช ไม่เหมาะสมกับพื้นที่ • การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ทำให้เกิดความเสี่ยงที่จะทำให้เกิดภัยธรรมชาติ เช่น น้ำท่วม การเกิดโรคระบาด อุบัติภัยรุนแรงเพิ่มมากขึ้น O T • นโยบายรัฐบาลและแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 11 • การเชื่อมโยงเครือข่ายคมนาคม • โซนนิ่งเกษตร • การบริหารจัดการน้ำ • การเชื่อมโยงระหว่างFunctionกับพื้นที่ • การรวมตัวเป็นระบบเศรษฐกิจอาเซียน ทำให้ขนาดตลาดของหลายอุตสาหกรรมขยายตัวเพิ่มขึ้นเป็นอย่างมาก • มีโอกาสเป็นแหล่งผลิตอาหาร เพื่อสร้างความมั่นคงทางอาหารของภูมิภาค

  8. จุดแข็ง (Strength) • มีภูมิประเทศ ภูมิอากาศ และภูมิปัญญาในการผลิตข้าวหอมมะลิคุณภาพดี • เป็นแหล่งผลิตภัณฑ์ชุมชนที่มีชื่อเสียง(หมอนขวานผ้าขิด) • มีแหล่งท่องเที่ยวทางศาสนา วัฒนธรรม ที่มีชื่อเสียง โดยเฉพาะงานประเพณีบุญบั้งไฟ และงานบุญแห่มาลัย • แรงงานมีจำนวนมาก สามารถรองรับงานในจังหวัด และสามารถพัฒนาเป็นแรงงานฝีมือได้ • วิถีอีสานของคนยโสธรมีความเข้มแข็ง

  9. จุดอ่อน (Weakness) • รายได้เฉลี่ยต่อหัวของประชาชนอยู่ในเกณฑ์ต่ำ • ไม่มีตลาดกลางสินค้าการเกษตร • ระบบชลประทานไม่ครอบคลุมทุกพื้นที่การเกษตร • ดินเพื่อการเกษตรมีความอุดมสมบูรณ์ตามธรรมชาติต่ำ • แหล่งท่องเที่ยว ยังขาดการพัฒนาสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับบริการนักท่องเที่ยว • ถนนในชนบทส่วนมากยังมีสภาพชำรุด • ที่ตั้งของจังหวัดมีศักยภาพในการขยายตัวทางอุตสาหกรรมน้อย

  10. โอกาส (Opportunity) • นโยบายรัฐบาลและแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 11 • การเชื่อมโยงเครือข่ายคมนาคม • โซนนิ่งเกษตร • การบริหารจัดการน้ำ • การเชื่อมโยงระหว่างFunctionกับพื้นที่ • การรวมตัวเป็นระบบเศรษฐกิจอาเซียน ทำให้ขนาดตลาดของหลายอุตสาหกรรมขยายตัวเพิ่มขึ้นเป็นอย่างมาก • มีโอกาสเป็นแหล่งผลิตอาหาร เพื่อสร้างความมั่นคงทางอาหารของภูมิภาค

  11. ภัยคุกคาม (Threat) • กระแสวัฒนธรรมต่างประเทศ ทำให้วิถีชีวิตชุมชนเปลี่ยนไป กระทบต่อความสงบสุขของประชาชน • กระแสทุนนิยมที่ทวีความรุนแรงเพิ่มขึ้น ทำให้ประชาชนมีแนวโน้มขายที่ทำกิน • มีแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดิน โดยปลูกพืช ไม่เหมาะสมกับพื้นที่ • การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ทำให้เกิดความเสี่ยงที่จะทำให้เกิดภัยธรรมชาติ เช่น น้ำท่วม การเกิดโรคระบาด อุบัติภัยรุนแรงเพิ่มมากขึ้น

  12. วิสัยทัศน์ : ยโสธรเมืองแห่งวิถีอีสาน เกษตรอินทรีย์ก้าวไกลสู่สากล

  13. การปรับกลยุทธ์และแนวทางการพัฒนาการปรับกลยุทธ์และแนวทางการพัฒนา ยุทธศาสตร์ที่ 1 ส่งเสริมการเกษตรปลอดภัย และเกษตรอินทรีย์ครบวงจร

  14. การปรับกลยุทธ์และแนวทางการพัฒนา (ต่อ) ยุทธศาสตร์ที่ 2 ส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่น วัฒนธรรมประเพณี และการค้า การท่องเที่ยว

  15. การปรับกลยุทธ์และแนวทางการพัฒนา (ต่อ) ยุทธศาสตร์ที่ 3 ยกระดับคุณภาพชีวิต เสริมสร้างความเข้มแข็งของครอบครัวและชุมชน

  16. การปรับกลยุทธ์และแนวทางการพัฒนา (ต่อ) ยุทธศาสตร์ที่ 4 อนุรักษ์ ฟื้นฟู พัฒนาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

  17. ข้อเสนอแผนงานโครงการสำคัญ (Flagship Project)

  18. ยุทธศาสตร์ที่ 1 : ส่งเสริมการเกษตรปลอดภัย และเกษตรอินทีย์ครบวงจร กลางน้ำ : การแปรรูป ปลายน้ำ : การตลาด ต้นน้ำ : การผลิต พัฒนา กระบวน การผลิต การ ปรับปรุง ดิน การบริหาร จัดการน้ำ การ พัฒนา แปรรูป ข้าวสาร การ พัฒนา แปรรูป ผลิตภัณฑ์ Value Chain การ พัฒนา ตลาด เพิ่มประสิทธิภาพ การแปรรูปและพัฒนา ผลิตภัณฑ์ ข้าวหอมมะลิอินทรีย์ และข้าวหอมมะลิปลอดภัย ส่งเสริมและพัฒนา ศักยภาพการผลิต ข้าวหอมมะลิ อินทรีย์ ส่งเสริมและพัฒนา ศักยภาพการผลิต ข้าวหอมมะลิ ปลอดภัย ส่งเสริมและพัฒนา ศักยภาพการผลิต การผลิตพืชและ สัตว์เศรษฐกิจ เพิ่มศักยภาพการตลาด สินค้าเกษตรอินทรีย์ และเกษตรปลอดภัย กิจกรรมหลัก พัฒนากระบวนการผลิต พัฒนากระบวนการ ผลิตพืชเศรษฐกิจ กิจกรรมย่อย พัฒนากระบวนการแปรรูปให้ได้มาตรฐาน ส่งเสริมตลาดสินค้า มาตรฐานสู่สากล พัฒนาแหล่งน้ำ พัฒนากระบวนการ ผลิตด้านปศุสัตว์ พัฒนาผลิตภัณฑ์ข้าวหอมมะลิสู่มาตรฐานสากล เพิ่มช่องทางการตลาด การปรับปรุงบำรุงดิน พัฒนากระบวนการ ผลิตด้านประมง เสริมสร้างความเข้มแข็งของ กลุ่มเกษตรกรและผู้ประกอบการ

  19. ยุทธศาสตร์ไข่ดาว ตัวอย่างกิจกรรม :พัฒนากระบวนการผลิต เพิ่มพื้นที่ร้อยละ 20/ปี ขั้นที่ 1 ข้าวทั่วไป (ระยะปรับเปลี่ยน) ใช้งบ Function เพิ่มพื้นที่ ร้อยละ 20/ปี ใช้งบจังหวัด / กลุ่มจังหวัด ขั้นที่ 2 ข้าว GAP เพิ่มพื้นที่ ร้อยละ 10/ปี ขั้นที่ 3 ข้าวอินทรีย์ ใช้งบจังหวัด

  20. กลยุทธ์บันได 3 ขั้น 3.ไข่แดง 2.ไข่ขาว ขั้นที่ 3 ส่งเสริมการผลิต ข้าวหอมมะลิอินทรีย์ กำหนด Zoning พัฒนาการผลิตข้าว GAP เป็นข้าวอินทรีย์มาตรฐานสากล เพิ่มพื้นที่ ร้อยละ 10/ปี 1.ระยะปรับเปลี่ยน ขั้นที่ 2 กำหนด Zoning ให้ความรู้ตามระบบจัดการคุณภาพพืชและตรวจรับรอง GAPข้าวเพิ่มพื้นที่ ร้อยละ 20/ปี ขั้นที่ 1 ส่งเสริมการผลิต ข้าวหอมมะลิปลอดภัย โดยให้ความรู้ ปรับเปลี่ยน การผลิตให้ปลอดภัย เพื่อเพิ่มพื้นที่ ร้อยละ 20/ปี 20 จังหวัดยโสธร

  21. การสร้างมูลเพิ่ม : โดยใช้ประโยชน์ทุกส่วนของข้าวหอมมะลิ ตัวอย่างกิจกรรม :พัฒนาการแปรรูป ข้าวสาร จำหน่าย Function สนับสนุน รำข้าว อาหารเสริม: น้ำมันรำข้าว/จมูกข้าว ข้าวเปลือก แปรรูป (สี) จมูกข้าว ปลายข้าว โจ๊ก / แป้งทำขนม • นวัตกรรม • เทคโนโลยี • ผลการวิจัยและพัฒนา แกลบ • วัสดุเกษตร • เชื้อเพลิงผลิตพลังงาน • วัสดุก่อสร้าง By-Product

  22. วิถีการตลาดข้าวหอมมะลิอินทรีย์จังหวัดยโสธรวิถีการตลาดข้าวหอมมะลิอินทรีย์จังหวัดยโสธร โรงสีข้าวอินทรีย์ ที่ได้รับรองมาตรฐาน 3,800ตัน ขป. 76ลบ. 2,508 ตัน ขส. 102.83 ลบ.(ขายส่ง ณ หน้าโรงสี) 137.94ลบ. (ราคาขายปลีก) เกษตรกร ที่ผ่านรับรองมาตรฐานอินทรีย์ 12,221ตัน 246.62ล้านบาท ภายในจังหวัด 1 % 25 ตัน 1.38 ล้านบาท ตลาดสีเขียว หน้าโรงสี ห้าง นานาภัณฑ์ ภายในประเทศ19% 477ตัน 26.24 ลบ. งานแสดงสินค้า ห้างสรรพสินค้า ท๊อปซุปเปอร์ฯ โรงสีข้าวโครงการรับจำนำ 8,531ตัน 170.62ลบ. ส่งออกผ่าน Trader ทวีปยุโรป อเมริกา ญี่ปุ่น สิงคโปร์ จีน ส่งออก80% 2,006 ตัน 120.384 ลบ. (fob) 22 จังหวัดยโสธร

  23. การพัฒนาโดยใช้กระบวนการเชื่อมโยงการทำงานแบบบูรณาการของทุกภาคส่วน ยึดหลัก ข้อมูล/ทิศทาง/เป้าหมายเดียวกัน โดยใช้ประชาชนเป็นศูนย์กลางการพัฒนา นำไปสู่คุณภาพชีวิตที่ดีของประชาชน “กินอิ่ม นอนอุ่น”

  24. ขอบคุณ

More Related